Now showing items 2121-2140 of 5668

    • การศึกษาสถานการณ์และรูปแบบระบบบริการที่เป็นมิตรสำหรับคนต่างด้าวในประเทศไทย 

      จิราลักษณ์ นนทารักษ์; Jiraluck Nontarak; อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; อังสุมาลี ผลภาค; Aungsumalee Pholpark; สุรสักย์ ธไนศวรรยางกูร; Surasak Thanaisawanyangkoon; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; Boonyawee Aueasiriwon; ปิยะฉัตร สมทรง; Piyachat Somsong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      การให้บริการที่เป็นมิตรกับคนต่างด้าว เป็นระบบที่สำคัญในการเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงและสร้างความเท่าเทียมในการรับบริการของคนต่างด้าว การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับคนต่างด้าวมีประเด็นที่ยังไม่ชัดเจนหลายประเด็นทั้งทางด ...
    • การศึกษาสถานดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในประเทศไทย 

      ศิริพันธุ์ สาสัตย์; ทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์; เตือนใจ ภักดีพรหม; เพ็ญจันทร์ เลิศรัตน์; ผ่องพรรณ อรุณแสง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2552-02-28)
      การศึกษาสถานดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในประเทศไทย ที่ให้บริการแก่ผู้ที่มีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป โดยใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานสถานบริการในเขตภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง กรุงเทพมหานคร ...
    • การศึกษาสถานะการขึ้นทะเบียนยาสามัญใหม่และศักยภาพในการลดค่าใช้จ่ายด้านยาหลังจากได้รับการอนุมัติการศึกษาชีวสมมูลโดยสำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; พิสภาสินี พิศาลสินธุ์; Pispasinee Pisansin; ศลิษา ฤทธิมโนมัย; Salisa Rittimanomai; วริษฐา หวังบรรจงกุล; Waritta Wangbanjongkun; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12-19)
      การศึกษาชีวสมมูล (Bioequivalence Studies) ในมนุษย์เป็นการทดสอบความเท่าเทียมกันระหว่าง ยาสามัญและยาอ้างอิงในด้านอัตราและปริมาณของ Active Pharmaceutical Ingredient (API) ในบริเวณที่ต้องการให้เกิดฤทธิ์ของยา การศึกษาเช่นนี้ท ...
    • การศึกษาสมรรถนะของแบบคัดกรองภาวะเลือดมีไขมันมากเกิน พ.ศ. 2551 

      อัญชลี สงวนตระกูล; วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; ทศพร วิมลเก็จ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษานี้เพื่อตรวจสมรรถนะของแบบการคัดกรองภาวะเลือดมีไขมันมากเกิน 4 แบบ แบบที่ 1 ตามแนวทางของราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย แบบที่ 2 ตามแนวทางของ National Cholesterol Education Program (NCEP),แบบที่ 3 ตามแนวทางของ ...
    • การศึกษาสรุปบทเรียนและติดตามผล เพื่อพัฒนาระบบการถ่ายโอนสถานีอนามัยไปองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      สมพันธ์ เตชะอธิก; พะเยาว์ นาคำ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
      การศึกษาวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการศึกษาผสมผสานทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยการศึกษาครั้งนี้ เน้นเชิงคุณภาพโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจกระบวนการการจัดตั้งกลไก ติดตามผลผลิตผลที่เกิดขึ้นวิเคราะห์และสรุปบทเรี ...
    • การศึกษาสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อสุขภาพ 

      บุญเรือง เนียมหอม; Boonruang Niamhom; กำพล ดำรงค์วงศ์; ปรียาพร ฤกษ์พินัย; Kampol Dumrongworng; Preeyaporn Rerkpinay (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อ (1) สำรวจสภาพและปัญหาการดำเนินงานในการจัดพิมพ์และเผยแพร่สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อสุขภาพของผู้จัดพิมพ์ในประเทศไทย (2) ศึกษาผู้แปลงข้อมูลข่าวสารสุขภาพเพื่อประชาชน ลักษณะผลงานที่ทำ กระบวนการเข้าสู่อาชีพ ...
    • การศึกษาส่วนร่วมจ่ายค่ายาในระบบประกันสุขภาพของ 10 ประเทศ 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; ภูรี อนันตโชติ; ศิริตรี สุทธจิตต์; อุบลพรรณ ธีระศิลป์; พลอยวรงค์ เหลืองไตรรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขศูนย์สารสนเทศและวิจัยระบบยา, 2550)
      ระบบประกันสุขภาพไทย ควรมีการเก็บส่วนร่วมจ่ายหรือไม่และอย่างไร เป็นคำถามนโยบายที่สำคัญคำถามหนึ่งในการจัดระบบประกันสุขภาพ ส่วนร่วมจ่ายยาเป็นหนึ่งในประเด็นที่มีการอภิปรายกัน การเก็บส่วนร่วมจ่ายในบริการสุขภาพเป็นนโยบายที่มีใ ...
    • การศึกษาหน้าที่และอำนาจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลกในเรื่องการรับถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก กรณีศึกษาเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปกฎหมายและแก้ไขอนุบัญญัติที่เกี่ยวข้อง 

      คณิดา นรัตถรักษา; Kanida Narattharaksa; ธีรเดช นรัตถรักษา; Teeradej Narattharaksa; ปิยะ ศิริลักษณ์; Piya Sirilak; สุภินดา ศิริลักษณ์; Supinda Sirilak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหน้าที่และอำนาจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลกในเรื่องการรับถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก โดยนำเสนอปัญหาและอุปสรรคด้านกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ...
    • การศึกษาหารหัสพันธุกรรมที่มีความสัมพันธ์กับการติดกัญชาในกลุ่มประชากรไทย 

      พีรนิธ กันตะบุตร; Piranit Kantaputra; ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา; Thiravat Hemachudha; สรายุทธ์ บุญชัยพานิชวัฒนา; Sarayuth Boonchaipanitwattana; ล่ำซำ ลักขณาภิชนชัช; Lumsum Lukanapichonchut; สมชาย ธนะสิทธิชัย; Somchai Thanasitthichai; สำเนา นิลบรรพ์; Sumnao Nilaban; ธนพัฒน์ ศาสตระรุจิ; Thanapat Sastraruji; อลิษา วิลันโท; Alisa Wilantho; ชุมพล งามผิว; Chumpol Ngamphiw; วอทันยู นครศรี; Vorthunju Nakhonsri; ศิษเฎศ ทองสิมา; Sissades Tongsima (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      จุดประสงค์ของการวิจัย คือ ต้องการหาการเปลี่ยนแปลงในยีนที่มีความสัมพันธ์กับการติดกัญชาในคนไทย โดยศึกษาในคนไทยที่ติดกัญชา จำนวน 144 คน และคนที่มีประวัติการใช้กัญชาแต่ไม่ติด จำนวน 20 คน ซักประวัติและเก็บเลือดหรือน้ำลายเพื่อไปสกัด ...
    • การศึกษาองค์ความรู้การสังคายนาตำราการแพทย์แผนไทยด้านตำราหัตถศาสตร์ศิลาจารึกวัดโพธิ์ 

      ศิริมงคล ตอบงาม; Sirimongkol Tobngam; ปณิตา ถนอมวงษ์; กาญจนา การะเวก; ภารดี ถนอมใจ; ภัทรวดี ทนุผล; ฐิติมา สุปริยศิลป์; องอาจ สินสมบูรณ์; จุฑารัตน์ ทะวาแสน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      งานวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาองค์ความรู้ การสังคายนาด้านตำราการแพทย์แผนไทยด้านตำราหัตถศาสตร์ศิลาจารึกวัดโพธิ์ โดยมีวัถตุประสงค์เพื่อ 1)เพื่อรวบรวมองค์ความรู้เรื่องตำราหัตถศาสตร์ การนวดแก้โรคต่างๆ ตามศิลาจารึกวัดโพธิ์ 2) ...
    • การศึกษาองค์ความรู้ด้านการเสริมสร้างพลังผู้บริโภคในต่างประเทศ 

      วิไลลักษณ์ อยู่สำราญ; Wilailak Yoosamram; ณัฐจรี สุวรรณภัฎ; รุ่งนภา เทพภาพ; ชัชวาล เทียมถนอม; Natcharee Suwannaput; Rungnapa Tappap; Chatchawal Tiemthanom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ รวมทั้ง แนวคิด หลักการ ปรัชญา ตลอดจนแนวทางการทำงาน เครื่องมือ เทคนิค และเงื่อนไขที่ส่งเสริม ข้อจำกัดของการดำเนินงานด้านการเสริมสร้างพลังผู้บริโภคในต่างประเทศ ...
    • การศึกษาองค์ความรู้ด้านการแปลผลการศึกษาวิจัยสุขภาพไปสู่การปฏิบัติระดับนโยบายสาธารณะ 

      ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; ธีระ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; Thira Woratanarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-04-10)
      กระแสโลกาภิวัฒน์ในรอบสองทศวรรษที่ผ่านมาก่อให้เกิดผลกระทบต่อการพัฒนาของสังคมโลกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังจะเห็นได้จากการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ในประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี รวมไปถึงระบบสาธารณสุข ...
    • การศึกษาอนาคตระบบสุขภาพช่องปากไทย 

      แพร จิตตินันทน์; Phaer Chaitinun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาอนาคตระบบสุขภาพช่องปากไทยศึกษาโดยใช้เทคนิคการศึกษาภาพอนาคต forsight study นักวิจัยซึ่งประกอบด้วยทันตบุคลากร และนักวิจัยระบบจากหลายภาคส่วน ได้ร่วมกันเก็บข้อมูลปฐมภูมิ สืบค้นและสอบถามข้อมูลทุตยภูมิจากประชาชนและผู้เกี่ยวข้อง ...
    • การศึกษาอัตราการเสียชีวิต และภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญีจากการรายงานอุบัติการณ์ในประเทศไทย 

      สมรัตน์ จารุลักษณานันท์; Somrat Charuluxananan; ยอดยิ่ง ปัญจสวัสดิ์วงศ์; Yodying Punjasawadwong; ศิริพร ปิติมานะอารี; Siriporn Pitimana-aree; เทวารักษ์ วีระวัฒกานนท์; Thewarug Werawatganon; วรินี เล็กประเสริฐ; Varinee Lekprasert; ศศิกานต์ นิมมานรัชต์; Sasikaan Nimmaanrat; อักษร พูลนิติพร; Aksorn Pulnitiporn; วรวุธ ลาภพิเศษพันธุ์; Worawut Lapisatepun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      ความปลอดภัยทางวิสัญญีวิทยาและศัลยกรรม อาจทำได้โดยการเฝ้าระวังและวิเคราะห์ภาวะแทรกซ้อนที่เกี่ยวข้อง คณะผู้ทำการศึกษาจึงได้ทำโครงการวิจัยภาวะแทรกซ้อนตั้งแต่ช่วงก่อน ระหว่าง และภายหลังการให้ยาระงับความรู้สึกและการผ่าตัดในประเทศไทย ...
    • การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และความไม่ปลอดภัย ภายหลังการรับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย 

      พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพันธ์; Poolsuk Janepanish Visudtibhan; แสงทอง ธีระทองคำ; Sangthong Terathongkum; จิราพร ไลนิงเกอร์; Jiraporn Lininger; วนาพรรณ ชื่นอิ่ม; Wanaphan Chuen-im; พลอยแก้ว จารุวร; Ploykaew Jaruworn; สุนันท์ วงศ์วิศวะกร; Sunun Wongvisavakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การศึกษาวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และเปรียบเทียบการมีอาการไม่พึงประสงค์กับชนิดของวัคซีนป้องกันโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค และผู้สูงอายุที่มารับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ...
    • การศึกษาอุบัติการณ์ ต้นทุนและผลกระทบงบประมาณของการให้บริการล้างไตแบบต่อเนื่องในประเทศไทย 

      จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; ณัฐชัย ศรีสวัสดิ์; Nattachai Srisawat; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; อาทร ริ้วไพบูลย์; Arthorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ไตวายเฉียบพลันเป็นภาวะที่ไตเกิดการสูญเสียการทำงานลงในช่วงเวลาเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน หากรักษาด้วยยาไม่หาย การบำบัดทดแทนไตจึงจะเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่รอดได้ ซึ่งการบำบัดทดแทนไตในปัจจ ...
    • การศึกษาอุบัติการณ์ของการเกิดวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีซีดีสี่ที่ต่างกันหลังได้รับยาต้านไวรัสและนวัตกรรมการอ่านผลการทดสอบทูเบอร์คูลินทางผิวหนังด้วยตัวเองเพื่อคัดกรองหาวัณโรคแฝงในผู้ป่วยเอชไอวี 

      กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; วรรษมน จันทรเบญจกุล; Watsamon Jantarabenjakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)
      บทนำ: การให้ยารักษาวัณโรคระยะแฝงในผู้ป่วยเอชไอวีในประเทศไทยยังไม่ได้มีการใช้อย่างแพร่หลายน่าจะเกิดจากสาเหตุหลายปัจจัย แต่หนึ่งในปัจจัยที่สำคัญที่สุด คือ แพทย์ส่วนใหญ่คิดว่า การให้ยาต้านไวรัสเพียงอย่างเดียวจะสามารถลดอุบัต ...
    • การศึกษาอุบัติการณ์และการตายจากอุบัติเหตุการจราจร ในจังหวัดตรัง ปี2536 

      วิภา ลุ้งบ้าน; Wipha Lungban; มณฑา คันฉ่อง; พัชนี ด่านวณิช; อนันต์ ชูหอยทอง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2536)
      การศึกษาอุบัติการณ์และการตายจากอุบัติเหตุการจราจรในจังหวัดตรัง ปี2536 การศึกษาอัตราอุบัติการณ์และการตายจากอุบัติเหตุจราจรทางบกในจังหวัดตรัง เพื่อศึกษาลักษณะการเกิดอุบัติเหตุทางระบาดวิทยาเกี่ยวกับบุคคล เวลา สถานที่ ...
    • การศึกษาเครือข่ายอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาล 

      ยรรยงค์ อินทร์ม่วง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาการและเครือข่ายอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาล กระบวนการพัฒนาอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาลและปัจจัยเกื้อหนุนที่ทำให้การพัฒนาอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาลประสบผลสำเร็จและปัจจัยที่เป็นข้อจำกัด ...
    • การศึกษาเครื่องชี้วัดคนไทยสุขภาพดี 

      พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์; Porapan Punyaratabandhu; อังสนา บุญธรรม; มันทนา ประทีปะเสน; ชนินทร์ เจริญกุล; กุลยา นาคสวัสดิ์; ชลีรัตน์ ดิเรกวัฒนชัย; Angsana Boonthum; Mantana Pratipasen; Chanin Chareonkul; Kulaya Narksawat; Chalerat Direkwatanachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาเพื่อพัฒนาเครื่องชี้วัดคนไทยสุขภาพดี มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือการสร้างภาพลักษณ์ของคนไทยที่มีสุขภาพดีพร้อมทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และพฤติกรรมที่จะนำไปสู่การมีสุขภาวะในช่วงอายุต่อๆไปด้วยรวมทั้งการพัฒนาเครื่องชี้วัด ...