Now showing items 2372-2391 of 5652

    • การสื่อสารสุขภาพ 

      ปาจรีย์ ธนะสมบูรณ์กิจ (แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพสู่ประชาชน (รสส.), 2550-05-01)
      แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพสู่ประชาชน (รสส.) โดย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (พ.ศ. 2546-2551) เกิดขึ้นเพื่อพัฒนากลไกและความเป็นวิชาชีพของการสื่อสารสุขภาพ เพิ่มศักยภาพนักสื่อสารสุขภาพ รูปแบบวิธีการทำสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อสุขภาพ ...
    • การสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น 

      ดวงพร คำนูณวัฒน์; นิยะนันท์ สำเภาเงิน; สุนิดา ศิวปฐมชัย (สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, 2552)
      หนังสือการสื่อสารสุขภาพท้องถิ่นนี้ จัดทำขึ้นจากการดำเนินงานโครงการวิจัย การสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น : แนวคิด การดำเนินงาน และการขยายผล โดยศึกษาต่อเนื่องจากการศึกษาสถานภาพการดำเนินงานสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น การวิจัยและพัฒนาการ ...
    • การสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น : แนวคิด การดำเนินงาน และการขยายผล 

      ดวงพร คำนูณวัฒน์; นิยะนันท์ สำเภาเงิน; สุนิดา ศิวปฐมชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่นักสื่อสารสุขภาพ หรือ นสส.ที่ปฏิบัติงานสื่อสารสุขภาพในพื้นที่จังหวัดแพร่และกาญจนบุรีซึ่งเป็นผลจากงานวิจัยช่วงแรก ให้สามารถดำเนินงานได้ด้วยตนเอง สนับสนุน นสส. ...
    • การสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น: จังหวัดปัตตานี 

      อิ่มจิต เลิศพงษ์สมบัติ; นุวรรณ ทับเที่ยง; อรุณีวรรณ บัวเนี่ยว (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
      โครงการวิจัยและพัฒนาการสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น: จังหวัดปัตตานี (Research and Development of Local Health Communication: Pattani) มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาผู้ที่มีความตั้งใจ สนใจ และมีความพร้อมที่จะทำหน้าที่นักสื่อสารสุขภาพท ...
    • การสื่อสารเรื่องเพศศึกษาในเด็กและเยาวชน ต.เชียงกลาง อ.เชียงกลาง จ.น่าน 

      อรไท พิพิธพัฒน์ไพสิฐ; จินตนา แสงจันทร์; จินตนา ไชยวิโน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-07)
    • การสุ่มตรวจประเมินคุณภาพบริการตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข ปี 2550 โรงพยาบาลสูงเม่น จังหวัดแพร่ 

      แสงชัย พงศ์พิชญ์พิทักษ์; Sangchai Pongpichpisuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้เพื่อศึกษาผลของการสุ่มตรวจประเมินคุณภาพบริการตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข พ.ศ. 2550 ของโรงพยาบาลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ทำการศึกษาแบบย้อนหลังจากข้อมูลการสุ่มตรวจประเมินคุณภาพบริการตามมาตรฐ ...
    • การสุ่มสำรวจข้อมูลประชากรและการสาธารณสุข จังหวัดสมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2537 

      คณะทำงานโครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการ จังหวัดสมุทรปราการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      Samutprakarn’s sampling survey information system for health managementThe survey employing cluster sampling technique covered the entire area of the province and households were sampling units.300 clusters were ...
    • การส่งต่อผู้คลอดไม่สำเร็จจากโรงพยาบาลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล 

      สุพล เจริญวิกกัย; Supon Charoenvikkai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้เสนอข้อมูลการส่งต่อผู้คลอดไม่สำเร็จจากโรงพยาบาลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ในปีงบประมาณ 2548-2550 เพื่อใช้เป็นแนวทางวางแผนเตรียมความพร้อมพัฒนาการดูแลผู้คลอดและการส่งต่อ ข้อมูลได้จากการทบทวนทะ ...
    • การส่งเสริมการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากคนพิการ 

      ศันสณี รัชชกูล; Sunsanee Rajchagool; พวงทอง ผู้กฤตยาคามี; Puangtong Pukrittiyakamee; สุรัตน์ มงคลชัยอรัญญา; Surat Mongkolchaiarunya; ภัตติมา บุรพลกุล; Pattima Burapholkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-04)
      จากผลการดำเนินงานขึ้นทะเบียนคนพิการของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ณ. วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2557 พบมีผู้พิการทั่วประเทศ 1,505,088 คนหรือร้อยละ 2.2 ของประชากรไทย มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละกว่าแสนคน ...
    • การส่งเสริมการเดินและใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน: กรณีศึกษา 4 ชุมชนในประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; อัจจิมา มีพริ้ง; Atjima Meepring (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การเดินและการใช้จักรยานเป็นกิจกรรมทางกายรูปแบบหนึ่งที่ประชาชนสามารถทำได้อย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวัน ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินกระบวนการดำเนินงานส่งเสริมการเดิน ...
    • การส่งเสริมการเลี้ยงลูกที่มีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้วยนมแม่อย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรกหลังคลอดในทารกที่แม่มารับการฝึกให้นมในหอผู้ป่วยหลังคลอด โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 

      พรเพ็ญ ปทุมวิวัฒนา (โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง ขยายคุณค่างานประจำ: R2R พัฒนาระบบบริการ วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-16.30 น. ณ Jupiter4-5 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
    • การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555 

      สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย); มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเภสัชศาสตร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลพบได้ทั้งในกลุ่มผู้ใช้ยาและผู้สั่งจ่าย ทั้งในสถานพยาบาลและร้านยา โดยเฉพาะในโรคหวัดที่พบว่า ประชาชนเกินกว่าครึ่งที่ใช้ยาปฏิชีวนะในการรักษา เป็นส่วนหนึ่งของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่เหมาะสม ...
    • การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาลท่าวังผา 

      ปิยพร บุณยวัฒน (โรงพยาบาลท่าวังผา จังหวัดน่าน, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง ขยายคุณค่างานประจำ: R2R พัฒนาการบริหารจัดการ วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-16.30 น. ณ Jupiter8-9 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
    • การส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในรายการบัญชียาจากสมุนไพร พ.ศ. 2549 

      วีรพงษ์ เกรียงสินยศ; Weerapong Kriangsinyod (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ความนิยมใช้ยาสมุนไพรและการแพทย์แผนไทยได้รับการตอบรับจากประชาชนเพิ่มขึ้น แม้วงการวิชาการตลอดจนบุคลากรด้านสุขภาพต่างหันมาสนใจศึกษาวิจัยและนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเช่นกัน แต่การส่งเสริมและสนับสนุนยังไม่สามารถจัดการได ...
    • การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use : การศึกษาการขยายผลสู่ความยั่งยืนโดยการสร้างบรรทัดฐานใหม่ทางสังคม (พ.ศ. 2554 – 2556) 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      เชื้อแบคทีเรียดื้อยาจากการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลได้กลายเป็นวิกฤตร่วมของคนทั่วโลก รวมทั้งของประเทศไทย เนื่องจากแบคทีเรียมีการปรับตัวให้ดื้อต่อยาปฏิชีวนะส่งผลให้ยาปฏิชีวนะที่มีใช้ในปัจจุบันไม่มีประสิทธิภาพในการรักษา ...
    • การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เขตบริการสุขภาพที่ 10 

      อุษณีย์ กิตติวงศ์สุนทร; Usanee Kittiwongsunthorn (โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์, 2559-08-01)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาสู่โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พ.ศ. 2559 วันที่ 1-2 สิงหาคม 2559 ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 6-7 ชั้น 5 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ
    • การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับสิ่งแวดล้อมและนโยบายในประเทศไทย: การทบทวนเชิงวิเคราะห์ 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การมีกิจกรรมทางกายที่เพิ่มขึ้นก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมาก โดยไม่เพียงลดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรและลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจากโรคไม่ติดต่อ แต่ยังส่งผลต่อการสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ลดความเหลื่อมล้ำในสังคมและเพิ่มคุณภาพชีวิต ...
    • การส่งเสริมประชาคมสื่อมวลชนเพื่อสุขภาพ 

      พลเดช ปิ่นประทีป; Poladech Pinprathip; ยุทธดนัย สีดาหล้า (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ซึ่งดำเนินการในพื้นที่ 4 จังหวัด ใน 4 ภาคของประเทศ ได้แก่ นครราชสีมา ตรัง พิษณุโลก และสมุทรปราการ ระหว่างเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2543 – ตุลาคม ...
    • การส่งเสริมสุขภาพขององค์กรพัฒนาเอกชน : กรณีศึกษา "ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทย" 

      ลักขณา เติมศิริกุลชัย; Lukana Termsirikulchai; ประสิทธิ์ ลีระพันธ์; ภรณี วัฒนสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การส่งเสริมสุขภาพขององค์กรพัฒนาเอกชน:กรณีศึกษา"ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทย" ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้เกิดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง การศึกษานี้เพื่อทบทวนของกิจกรรมของชมรมตั้ง ...
    • การส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กพิการในศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดน่าน ปี 2553 

      สุรีรัตน์ สูงสว่าง (โรงพยาบาลน่าน, 2555-07-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี