• การอ่านสภาพจิตของผู้ต้องขังจากภาพวาด 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ; นพวรรณ บัวทอง; ศิเรมอร บุญงาม; Lertsiri Bovornkitti; Nopphawan Buathong; Siremaon Bunngam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพจิตของผู้ต้องขังในเรือนจำจากภาพวาดอิสระ กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ศึกษาได้แก่ ผู้ต้องโทษคุมขัง 30 ราย เป็นชาย 20 ราย และหญิง 10 ราย อายุ 24-57 ปี ซึ่งมีภูมิลำเนากระจายอยู่ทั่วประเทศ ...
    • การเกาะติดการรักษาและผลทางเวชกรรมในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรักษาที่โรงพยาบาลนางรอง 

      สุรภี ปิ่นอำพล; Surapee Pinumphol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ภูมิหลังและเหตุผล ในการใช้ยารักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การเกาะติดการรักษา หรือการเกาะติดยาของผู้ป่วย เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลการรักษา ผู้ป่วยที่มีเกาะติดการรักษาต่ำ คือใช้ยาไม่สม่ำเสมอ ไม่ครบตามแพทย์สั่ง จะก่อผลร้ายต่อผู้ป่วย ...
    • การเกิดซ้ำของหินน้ำลายและเหงือกอักเสบในนักเรียนประถมศึกษาที่รับการขูดหินน้ำลายโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา 

      จอนสัน พิมพิสาร; Johnson Pimpisarn; ปราณี ปัญญายงค์; มนัสศรา อัจฉริยเมธากุล; ดวงใจ แย้มกระโทก; รณชัย อัจฉริยเมธากุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การเกิดขึ้นซ้ำของหินน้ำลายและเหงือกอักเสบในเด็กนักเรียนประถมศึกษา การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเกิดขึ้นซ้ำของหินน้ำลายและเหงือกอักเสบของเด็กนักเรียนประถมศึกษา อายุ 10-12 ปี ในกลุ่มโรงเรียนที่มีการแป ...
    • การเกิดซ้ำของโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนในประเทศไทย: กรณีศึกษาของโรคคอตีบ โรคหัด โรคหัดเยอรมัน และโรคไวรัสตับอักเสบชนิดเอ 

      อรุณรักษ์ คูเปอร์ มีใย; โสภณ เอี่ยมศิริถาวร; จักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์; ปณิธี ธัมมวิจยะ; สมคิด คงอยู่; วิริชดา ปานงาม; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; วิราวรรณ ชินวิริยสิทธิ์; เศรษฐภัทร ชินวิริยสิทธิ์; ธีระพล สลีวงศ์; วรรณพงษ์ เตรียมโพธิ์; ชรินทร์ โหมดชัง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03-02)
      การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคในประเทศไทย เริ่มในปี พ.ศ.2520 ผ่านโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization, EPI) เพื่อลดอุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตจากโรคทั่วไปที่ สามารถป้องกันได้ ในช่วงแรกความค ...
    • การเกิดเหตุการณ์ Pandemic ของโรคติดต่อที่มีความสำคัญอย่างต่อเนื่องและซ้ำซากจนเป็นภาระแก่ระบบ 

      นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05)
    • การเขียนการดำเนินการกับข้อมูล และการวิเคราะห์ทางสถิติในโครงร่างวิจัย 

      อรุณ จิรวัฒน์กุล; Aroon Chirawatkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-10-02)
      เอกสารนำเสนอประกอบการฝึกอบรม โครงการจัดฝึกอบรมเรื่อง “การเขียนโครงร่างการวิจัยทางคลินิก ” วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2557 ณ ห้องแมจิก 1 ชั้น G โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร
    • การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยให้ได้ทุน 

      สุชาต อุดมโสภกิจ; Suchat Udomsopakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ, 2560-02)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมโครงการพัฒนาผู้จัดการงานวิจัย รุ่นที่ 3 (Research Manager : RM)ระหว่างวันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ 2560 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี
    • การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยให้ได้ทุน 

      สุชาต อุดมโสภกิจ; Suchat Udomsopakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-29)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมหลักสูตรผู้จัดการงานวิจัย รุ่นที่ 4 ระหว่างวันที่ 28-30 มิถุนายน 2560 ณ ห้องประชุมแคทลียา 1 โรงแรมรามาการ์เด้นส์
    • การเขียนทับศัพท์ 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      วิธีการเขียนทับศัพท์ภาษาอังกฤษเป็นคำไทย ยังคงหลากหลายรูปแบบ แตกต่างกันในต่างสถาบันหรือแม้ในสถาบันเดียวกัน และแตกต่างกันในกลุ่มนักวิชาการโดยแนวคิดและอุดมการณ์ โดยที่ราชบัณฑิตยสถานเป็นหน่วยงานทางการที่กำหนดการใช้ภาษาของชาติ ...
    • การเขียนสรุปรายงานการวิจัย และรูปแบบมาตรฐานการเขียนรายงานการวิจัย 

      บัญชร แก้วส่อง; Bunchorn Kaewsong (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2557-09-17)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมหลักสูตรผู้จัดการงานวิจัย รุ่นที่ 1 วันที่ 16 - 18 กันยายน 2557 และ รุ่นที่ 2 วันที่ 29 - 31 ตุลาคม 2557 ณ โรงแรมมารวย กาเด้น
    • การเข้าถึง เข้าใจ ประเมิน และใช้ข้อมูลข่าวสารสุขภาพเพื่อการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่แพร่มาจากต่างประเทศของประชาชนในเขตเมือง 

      พนม คลี่ฉายา; Phnom Kleechaya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการเข้าถึงความเข้าใจ การประเมินคุณค่าและความถูกต้องของข้อมูลข่าวสารสุขภาพเกี่ยวกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่แพร่มาจากต่างประเทศของประชาชนในเขตเมือง และการนำข้อมูลข่าวสารมาใช้ในการป้องกันและ ...
    • การเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย : การวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; Vijj Kasemsap; Yot teerawatananon; Thanom Supaporn; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การบริการทดแทนไต (renal replacement therapy-RRT) เป็นการรักษาพยาบาลที่มีความจำเป็นสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (ต่อไปนี้เรียกว่าผู้ป่วยฯ) ซึ่งในปัจจุบัน มีความไม่เท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการทดแทนไตระหว่างผู้ป่วยฯ ...
    • การเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย : การวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangchroensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังสามารถพบได้ทั่วไปในทุกกลุ่มอายุโดยเฉพาะผู้ป่วยสูงอายุ และผู้ที่มีโรคเรื้อรัง เช่น นิ่วในไต เบาหวาน ความดันโลหิตสูง รักษาพยาบาล และค่าฟอกเลือด สามารถทำให้ครอบครัวนั้นล้มละลายทางด้านการเงินได้ ...
    • การเข้าถึงบริการทันตกรรมประเภทต่างๆ ของประชากรไทย 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เป้าหมายหลักของการจัดบริการสุขภาพภายใต้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คือการเข้าถึงบริการที่จำเป็นอย่างเท่าเทียมกันของประชากร อัตราการรับบริการสุขภาพจึงเป็นตัวชี้วัดสำคัญในการประเมินการดำเนินงานตามเป้าหมายดังกล่าว แต่จากข้อมูล ...
    • การเข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทยของบุคลากรต่างชาติ 

      รุ่งฤดี วงค์ชุม; Rungrudee Wongchum; พีรนุช ลาเซอร์; Peeranuch LeSeure; อรทิพา ส่องศิริ; Onthipa Songsiri; พิชาภรณ์ จันทนกุล; Pichaporn Janthanakul; วิชชุดา เจริญกิจการ; Vishuda Charoenkitkarn; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษาการเข้ามาทำงานของบุคลากรสุขภาพชาวต่างชาติในประเทศไทยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคลของบุคลากรชาวต่างชาติที่เข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทย ปัจจัยที่ทำให้บุคลากรชาวต่างชาติตัดสินใจมาทำงานโรงพยาบาล ...
    • การเข้ารับรักษาตัวในโรงพยาบาลเนื่องจากปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุ 

      ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-10)
      ปัญหาการใช้ยาที่นำไปสู่การเข้ารับรักษาตัวในโรงพยาบาลเป็นสาเหตุสำคัญของความเจ็บป่วยพิการซึ่งเป็นภาระต่อระบบสุขภาพซึ่งที่มีทรัพยากรจำกัด นอกจากนี้ปัญหาการใช้ยาเป็นประเด็นความเสี่ยงทางสุขภาพสำคัญในเอกสารเชิงนโยบายทั่วโลก จ ...
    • การเคลื่อนย้ายและกระจายกำลังเภสัชกรในประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน 

      กรแก้ว จันทภาษา; Kornkaew Chanthapasa; รักษวร ใจสะอาด; Ruksaworn Chai-saard; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นวิธีวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การเคลื่อนย้ายและการกระจายกำลังคนด้านวิชาชีพเภสัชกร โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างเภสัชกรที่ขึ้นทะเบียนกับสภาเภสัชกรรมที่ยังมีชีวิต ...
    • การเคลื่อนไหวร่างกายของคนไทย 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-07)
      การเคลื่อนไหวร่างกาย หรือกิจกรรมทางกาย (Physical Activities) หมายถึงการเคลื่อนไหวร่างกาย ซึ่งถ้าได้กระทำสม่ำเสมอจะเป็นพฤติกรรมที่สร้างเสริมสุขภาพ และมีผลต่อการป้องกันโรคที่สำคัญต่อไปนี้คือ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ เส้นเลือดในสมองตีบ ...
    • การเงินการคลังที่เกี่ยวกับยา 

      รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; Rungpetch Sakulbumrungsil; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; อาทร ริ้วไพบูลย์; Athorn Riewpaiboon; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; Inthira Kanchanaphibool; ทวีศักดิ์ มโนมยิทธิกาญจน์; Taweesuk Manomayitthikan; ธนิศา ทาทอง; Thanisa Thathong; ฉันทวัฒน์ ปฏิกรณ์; Chanthawat Patikorn; กุลจิรา อุดมอักษร; Khunjira Udomaksorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • การเงินการคลังบริการสุขภาพช่องปากในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การศึกษานี้ประกอบด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลรายจ่ายบริการสุขภาพช่องปาก จากรายจ่ายภาครัฐและสวัสดิการต่างๆ ร่วมกับรายจ่ายภาคครัวเรือน โดยใช้การวิเคราะห์รายจ่ายภาครัฐและสวัสดิการต่างๆ 2 วิธี วิธีแรกคือ วิเคราะห์จากข้อมูลรายจ่าย ...