Now showing items 2499-2518 of 5652

    • การเพิ่มประสิทธิผลการดำเนินงาน ส่งเสริมการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่ สปสช.เขต 2 พิษณุโลก 

      กษมา ทองแบบ; Kasama Thongbaeb (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • การเพิ่มศักยภาพและการวางยุทธศาสตร์ประเทศไทยในการดำเนินโครงการ CDM 

      สุธาวัลย์ เสถียรไทย; Suthawan Sathirathai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      รายงานการวิจัย เรื่อง “การเพิ่มศักยภาพและการวางยุทธศาสตร์ประเทศไทยในการดำเนินโครงการ CDM” มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเสนอยุทธศาสตร์ในการดำเนินโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) ของประเทศไทยโดยเฉ ...
    • การเพิ่มสิทธิประโยชน์การรักษาผู้ป่วยโรค HAE (Hereditary Angioedema) ที่เกิดจากความผิดปกติของเอนไซม์ C1 esterase inhibitor: C1-INH 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      โรค Hereditary angioedema (HAE) เป็นโรคทางพันธุกรรมหายากที่คุกคามชีวิตผู้ป่วย โรคนี้สามารถนำไปสู่การเกิดอาการกำเริบเฉียบพลัน โดยมีอาการบวมอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในบริเวณต่างๆ เช่น ใบหน้า ทางเดินอาหารและกล่องเสียง ...
    • การเพิ่มเข้าถึงบริการรังสีรักษาด้วยระบบส่งต่อทาง internet 

      นิภาภัทร คงโต; คณิตศักดิ์ จันทราพิพัฒน์; ชัยพร กันกา; ฉวีวรรณ เจิมสม (สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 3 นครสวรรค์, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง ขยายคุณค่างานประจำ: R2R พัฒนาการบริหารจัดการ วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-16.30 น. ณ Jupiter8-9 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
    • การเมืองและดุลอำนาจในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      นวลน้อย ตรีรัตน์; แบ๊งค์ งามอรุณโชติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      หนังสือ “การเมืองและดุลอำนาจในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า” เขียนขึ้นด้วยเวลาอันจำกัดเพียงประมาณหนึ่งเดือนเศษเท่านั้น ด้วยความเกรงใจผู้ติดต่อ ซึ่งเป็นรุ่นพี่ที่มีความเคารพนับถือกันมานาน ประกอบกับความขัดแย้งในระบบหลักประก ...
    • การเมืองและดุลอำนาจในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      นวลน้อย ตรีรัตน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • การเรียกร้องเงินชดเชยจากภาวะไม่พึงประสงค์ที่เกิดในโรงพยาบาล 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; บุศราพร เกษสมบูรณ์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; อมร เปรมกมล; Pattapong Kessomboon; Nusaraporn Kessomboon; Supasit Pannarunothai; Amorn Premgamone (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      เมื่อเกิดภาวะไม่พึงประสงค์จากการรักษาพยาบาล ผู้ป่วยหรือญาติอาจเรียกร้องขอเงินชดเชยจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และมีการฟ้องศาลในคดีละเมิด ซึ่งเหตุการณ์นี้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ กระทบกระเทือนความสัมพันธ์ระหว่างแ ...
    • การเรียนรู้ อยู่กับภัยพิบัติ: นิเวศวัฒนธรรม สื่อ รัฐ กับพลวัตชุมชน ปีที่ 2 

      สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; Society and Health Institute; โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup; Kaewta Sungkhachart; สิทธิโชค ชาวไร่เงิน; Sittichoke Chawraingern; สุจิตรา ปัญญา; Sujittra Panya; ประชาธิป กะทา; Prachatip Kata; ธนวรรณ สาระรัมย์; Thanawan Sararum; บุษบงก์ วิเศษพลชัย; Bussabong Wisetpholchai; แก้วตา สังขชาติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-04)
      โครงการเรียนรู้อยู่กับภัยพิบัติ: นิเวศวัฒนธรรม สื่อ รัฐ กับพลวัตชุมชน (ปีที่2) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์และปฏิกิริยาของชุมชนที่มีต่อภัยพิบัติ ทั้งก่อน ระหว่างและหลังการเกิดภัยพิบัติในบริบทนิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นที ...
    • การเรียนรู้กระบวนการจัดทำแผนงานสื่อสารสุขภาพท้องถิ่นของนักสื่อสารสุขภาพ 

      ดวงพร คำนูณวัฒน์; สุนิดา ศิวปฐมชัย; สิรินทร พิบูลภานุวัธน์; พัชรินทร์ เกตุจำนงค์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-10)
      จากการที่โครงการวิจัยการสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น : แนวคิด การดําเนินงาน และการขยายผลได้ดําเนินงานสนับสนุนให้เกิดการดําเนินงานการสื่อสารสุขภาพท้องถิ่นขึ้นในจังหวัดแพร่และจังหวัดกาญจนบุรีอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลากว่า 3 ...
    • การเรียนรู้การพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ 

      มานพ เชื้อบัณฑิต (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-19)
    • การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงเพื่ออยู่กับเบาหวานอย่างผาสุก: กรณีศึกษาโรงพยาบาลเอกชนกับงานด้านสาธารณสุข 

      ละเอียด แจ่มจันทร์; Laid Jamjan; บุญเตือน วัฒนกุล; Boontuan Wattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      การจัดการโรคเบาหวานเพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผู้ที่เป็นเบาหวานต้องได้รับการสอนเพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างสมดุลทั้งด้านโภชนาการ การออกกำลังกายและการใช้ยารักษา โดยจะต้องเรียนรู้เรื่องระดับน้ำตาลในเลือด ...
    • การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงในกระบวนการผลิตพยาบาลชุมชน: กรณีศึกษา โรงพยาบาลน้ำพองและโรงพยาบาลอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น 

      สุนันทา ทองพัฒน์; Sunanta Thongpat; ศุภาพิชญ์ มณีสาคร โฟน โบร์แมนน์; Suparpit Maneesakorn von Bormann (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      การขาดแคลนพยาบาลวิชาชีพได้ส่งผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพและความเป็นธรรมด้านการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนโดยเฉพาะในชนบทห่างไกล โรงพยาบาลน้ำพองและโรงพยาบาลอุบลรัตน์เป็นโรงพยาบาลชุมชนของรัฐในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น ซึ่งเคยประสบ ...
    • การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงในการจัดการศึกษาเพื่อผลิตพยาบาลชุมชน: กรณีศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น 

      อัญชลีพร อมาตยกุล; Anchaleeporn Amatayakul; วิไลพร ขำวงษ์; Wilaiporn Khamwong; พรรณิภา ทองณรงค์; Pannipa Thongnarong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      ถึงแม้ในแต่ละปีนั้น ประเทศไทยจะสามารถผลิตพยาบาลวิชาชีพได้ประมาณ 6,500 คนต่อปี จากสถาบันการศึกษาทางการพยาบาลทั้งหมดกว่า 80 แห่งแต่กลับพบว่าปัญหาการขาดแคลนพยาบาลวิชาชีพยังมีความรุนแรงมากขึ้นซึ่งเป็นการขาดแคลนทั้งด้านปริมาณ ...
    • การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงในการศึกษาของแพทย์ชนบท: กรณีศึกษาศูนย์แพทยศาสตรศึกษา ชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา 

      พนารัตน์ วิศวเทพนิมิตร; Panarut Wisawatapnimit; กมลรัตน์ เทอร์เนอร์; Kamolrat Turner (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      กำลังคนด้านสุขภาพเป็นหัวใจสำคัญของระบบสุขภาพ แต่ปัจจุบัน ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยมีปัญหาการขาดแคลนและการกระจายกำลังคนด้านสุขภาพ โดยเฉพาะการขาดแคลนแพทย์ในชนบท ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษขององค์การสหประชา ...
    • การเรียนรู้สู่สุขภาพในกระบวนทัศน์ใหม่ 

      สิริมิตร ทวีปรังษีนุกูล; Sirimit Taveprungsenukul (สถาบันวิจัยระบบ, 2546)
      โครงการนี้เริ่มจากความคิดที่ระบบดูแลสุขภาพปัจจุบันมักเน้นที่การดูแลร่างกายเมื่อป่วยหรือมีปัญหาแล้ว กระบวนการถ่ายทอดความคิด ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพก็เป็นไปแบบแนวดิ่ง คือ จาก”ผู้รู้” สู่ “ผู้ไม่รู้” และถ่ายทอดกันต่อๆ ...
    • การเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย : บทบาทของสถานเลี้ยงดูเด็ก 

      มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ; Manee Chiteeranuwatsiri (เสมาธรรม, 2543)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยโดยสถานเลี้ยงดูเด็ก ศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสถานเลี้ยงดูเด็กของประเทศไทย ศึกษาระบบ กลไก และประสิทธิภาพของสถานเลี้ยงดูเด็กของภาครัฐและเอกชนในปัจจุบัน ศึกษารูปแบบแ ...
    • การเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ 

      อนรรฆ พิทักษ์ธานิน; มนทกานต์ ฉิมมามี; ปุณณฑรีย์ เจียวิริยบุญญา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)
      การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ หนึ่ง ทบทวนนิยาม มโนทัศน์ และแนวคิดทางสังคม ที่อยู่เบื้องหลังข้อตกลงระหว่างประเทศและกฎหมายของต่างประเทศรวมถึงประเทศ ...
    • การเลือกใช้สถิติในงานวิจัย 

      วิฑูรย์ โล่ห์สุนทร (คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556-12-26)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมโครงการพัฒนานักวิจัยในเขตสุขภาพ รุ่นที่ 1 วันที่ 23-27 ธันวาคม 2556 ณ ห้องประชุมสานใจ 1 ชั้น 6 อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข
    • การเสนอแนะแนวทางการปฏิรูประบบโรงพยาบาลของรัฐ 

      วันชัย มีชาติ; Wanchai Meechati; อร่าม ศิริพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การเสนอแนะแนวทางการปฏิรูประบบโรงพยาบาลของรัฐ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)ศึกษาถึงกรอบแนวทางในการศึกษาวิจัยเพื่อการบริหารโรงพยาบาลของรัฐ (การปฏิรูประบบโรงพยาบาลของรัฐ) 2)ศึกษาทบทวนถึงการปรับปรุงและปฏิรูประบบโรงพยาบาล ...
    • การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ชุมชนในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากมลพิษทางน้ำ : กรณีศึกษาแม่น้ำนครนายก 

      ยรรยงค์ อินทร์ม่วง; Yanyong Intramuang; นาวิน โสภาภูมิ; สุภาวดี บุญเจือ; สมพร อุดมวินิจศิลป์; สรัญญา โพธิ์ทอง; Nawin Sopapum; Supawadee Bunchuea; Somporns Udomwinisin; Sarunya Pothong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ชุมชนเกษตรกรรมลุ่มน้ำย่อยนครนายกใช้แม่น้ำนครนายกเป็นแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค การเพาะปลูก นาข้าว พืชสวน และบ่อกุ้ง บ่อปลา น้ำที่ผันเข้าสู่เรือกสวนไร่นาและครัวเรือนเหล่านั้นถูกจัดสรรและกระจายน้ำผ่านคูคลองชลประทาน ...