Now showing items 2588-2607 of 5652

    • การให้บริการตามมาตรฐานการให้บริการปฐมภูมิและการรับรองมาตรฐานการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      ดาราวรรณ รองเมือง; Daravan Rongmuang; อินทิรา สุขรุ่งเรือง; Intira Sukrungreung; จีราพร ทองดี; Jeraporn Thongdee; ลลิตา เดชาวุธ; Lalita Dechavoot; กฤษณี สุวรรณรัตน์; Kritsanee Suwannarat; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; ภัทร์พงศ์ อุดมพัฒน์; Patpong Udompat; จิรชาติ เรืองวัชรินทร์; Jirachart Reungwatcharin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กำหนดให้มีการถ่ายโอนภารกิจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) สังกัดองค์การบริหารส่ว ...
    • การให้บริการทันตกรรมแก่ผู้บกพร่องด้านพัฒนาการและสติปัญญา 

      สถาบันราชานุกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      สถาบันราชานุกูล ได้จัดอบรมทันตบุคลากร ได้แก่ ทันตแพทย์ ทันตาภิบาล และผู้ช่วยทันตแพทย์ ในงานทันตกรรมสำหรับผู้บกพร่องด้านพัฒนาการและสติปัญญา โดยได้อบรมด้านวิชาการและภาคปฏิบัติ เนื้อหาหลักสูตรสอนเกี่ยวกับ ความรู้พื้นฐานเก ...
    • การให้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้การจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      “สร้างนําซ่อม” เป็นหลักการและจุดมุ่งหมายที่สําคัญของการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ได้มีการกําหนดไว้ในระดับนโยบาย ด้วยเหตุนี้ทําให้การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคเป็นองค์ประกอบหลักประการหนึ่งของการสร้างหลักประกันสุ ...
    • การให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขให้แก่บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ : ความสำเร็จอีกขั้นของระบบหลักประกันสุขภาพไทย 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-03)
      ถึงแม้ประเทศไทยจะได้ขยายหลักประกันสุขภาพครอบคลุมคนไทยทุกคนแล้ว ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 แต่ยังไม่สามารถครอบคลุมคนไทยทุกคนได้จริง เพราะการตีความผู้มีสิทธิในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ...
    • การได้รับนมแม่อย่างเดียวเพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะโลหิตจางในช่วงอายุ 6 เดือนแรกของชีวิตหรือไม่ 

      พรสุดา กฤติกาเมษ; Pornsuda Krittigamas; วิรดา ศักดิ์อมรชัย; Wirada Sakamornchai; ชิดชนก เรือนก้อน; Chidchanok Ruengorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      ภูมิหลัง: องค์การอนามัยโลกแนะนำการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรกของชีวิต อย่างไรก็ตาม พบว่าทารกที่ได้รับนมแม่อย่างเดียวใน 6 เดือนแรกของชีวิตมีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น การศึกษาเกี่ยวกับภาวะโล ...
    • การได้รับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามมาตรา 41 กับการฟ้องร้องคดีแพ่ง 

      บุญศักดิ์ หาญเทอดสิทธิ์; Boonsak Hanterdsith (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)
      หลังจากพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มีผลบังคับใช้ จำนวนผู้ขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามมาตรา 41 มีมากขึ้นทุกปี ซึ่งยังเป็นที่สงสัยว่าอัตราการฟ้องร้องลดลงหรือไม่ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษา ...
    • การไม่ได้รับยาของผู้ป่วยที่รับการรักษาจากโรงพยาบาล 

      จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; สุพล ลิมวัฒนานนท์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การวิจัยนี้ได้วิเคราะห์ปัญหาการไม่ได้รับยาของผู้ป่วยที่รับการรักษาจากโรงพยาบาลโดยใช้วิธีการศึกษาตั้งแต่ การสัมภาษณ์ความคิดเห็นของแพทย์ การสำรวจนโยบายโรงพยาบาล การวิเคราะห์ฐานข้อมูลอิเลคทรอนิกส์ของโรงพยาบาล การประเมินผู้ป ...
    • กาฬโรค : โรคอุบัติซ้ำ 

      ไอยฤทธิ์ ไทยพิสุทธิกุล; Iyarit Thaipisuttkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      กาฬโรคเป็นโรคในสัตว์ตระกูลฟันแทะที่เกิดจากแบคทีเรีย Yersinia pestis โดยมีหมัดเป็นพาหะ โรคในมนุษย์นั้นเกิดจากการติดเชื้อโดยบังเอิญ จากการถูกหมัดกัดหรือจากการสัมผัสสัตว์ที่ติดเชื้อ ในอดีต กาฬโรคเป็นโรคที่มีความรุนแรงสูง ...
    • กำลังคนของระบบสุขภาพชุมชน 

      เกษม เวชสุทธานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-19)
    • กำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบันและอนาคต: บทเรียนจากการระบาด COVID-19 

      ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • กำเนิดเส้นใยหินในปอด 

      สมชัย บวรกิตติ; สายชล เกตุษา; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
    • กิจกรรมทางกาย การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง: กรณีศึกษาของ 3 ชุมชนในประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthrasri; สรศักดิ์ เจริญสิทธิ์; Sorasak Charoensit; อัจจิมา มีพริ้ง; Atjima Meepring; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Ruengsom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การเดินและการใช้จักรยานเป็นกิจกรรมทางกายรูปแบบหนึ่งที่ประชาชนสามารถทำได้อย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวัน ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเด ...
    • กิจกรรมทางกายในเด็กและเยาวชนไทย อายุ 0-22 ปี: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 

      ทรงทรรศน์ จินาพงศ์; Songdhasn Chinapong; ระวีวรรณ มาพงษ์; Raweewan Maphong; ธนัญพร พรมจันทร์; Thnunpron Promjun; อารีกุล อมรศรีวัฒนกุล; Areekul Amornsriwatanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      ภูมิหลังและเหตุผล: การมีกิจกรรมทางกายในระดับที่เพียงพอตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลกจำเป็นต่อการพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวและสมรรถภาพทางกายในเด็กและเยาวชน และมีส่วนช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเมื่ ...
    • กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในโรงพยาบาล: ผลการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 

      ภรณี เหล่าอิทธิ; Poranee Laoitthi; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      การสร้างเสริมสุขภาพในโรงพยาบาลเป็นแนวนโยบายที่มีโอกาสในการช่วยเสริมความเข้มแข็งของมาตรการการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ โดยเฉพาะในส่วนของการปรับให้โรงพยาบาลเอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ เพราะการให้บริการของสถานพยาบาลต่างๆ ...
    • กิจกรรมส่งเสริมความตระหนักรู้โรคมะเร็งปากมดลูกผ่านสื่อโดยผู้จำหน่ายวัคซีนป้องกันการติดเชื้อเอชพีวี 

      ภาสกรณ์ โพธิ์ศรี; Passakorn Phosi; มณีรัตน์ รัตนามหัทธนะ; Maneerat Rattanamahattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมความตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกที่บริษัทผู้ผลิต/ผู้จำหน่ายวัคซีนป้องกันการติดเชื้อเอชพีวีนำเสนอผ่านสื่อโทรทัศน์ สื่อนิตยสาร และสื่ออินเตอร์เน็ต ...
    • กินดี ยูดี 

      กษมา แย้มตรี; ยศวดี สนธิไชย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-04-01)
      Universal Design เป็นแนวคิดเรื่องการออกแบบสิ่งแวดล้อม การสร้างสถานที่ ข้าวของต่างๆ รวมถึงการพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อให้ทุกคนที่อยู่ในสังคมเดียวกันสามารถใช้ประโยชน์จากสิ่งเหล่านั้นได้อย่างเต็มที่และเท่าเทียมกัน โดยไม่มีกล ...
    • กินน้อยลง อดอาหาร ออกกำลังกาย ลดน้ำหนักจริงหรือ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-02)
      Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย ผลของการออกกำลังและการบริโภคอาหารต่อการเกิดโรคสมองเสื่อม โรคไตเรื้อรัง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือดในประชากรไทยในจังหวัดอุบลราชธานี โครงการต่อเนื่อง ปีที่ 2 (https://kb.hsri.or.th/ ...
    • กุญแจดอกใหญ่ไขสุขภาพ : พลังงาน สุขภาพ และพลังประชาชน 

      เดชรัต สุขกำเนิด; เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง; วลัยพร มุขสุวรรณ; ศุภกิจ นันทะวรการ; สดใส สร่างโศรก (2545-08)
    • กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Lay person) 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat; จันทรา เหล่าถาวร; Jantra Laothavorn; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พรรณทิพา ว่องไว; Phanthipha Wongwai; สุพัตรา ปรศุพัฒนา; Supatra Porasuphatana; ประทุม สร้อยวงค์; Pratum Soivong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)
      หนังสือ กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน เล่มนี้ จัดทำขึ้นในโครงการพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน ครั้งที่ 1 โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์ ...