Now showing items 3170-3189 of 5660

    • ชุดความรู้ที่สัมพันธ์กับมิติจิตวิญญาณ (Spiritual dimension) ที่เกี่ยวข้องกับทางสุขภาพ 

      วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      มีความพยายามเสนอให้เพิ่ม “สุขภาวะทางวิญญาณ” เข้าในคำจำกัดความคำว่าสุขภาพขององค์การอนามัยโลกอย่างเป็นทางการ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 โดยสมาชิกจากประเทศในภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ข้อเสนอดังกล่าวมีทั้งผู้สนับสนุนและคัดค้าน ...
    • ชุดปิดแผลสุญญากาศแบบดัดแปลง,1998 กับแผลเรื้อรัง 

      ปาณิสรา สุขสวัสดิ์; Panitsara Suksawad (โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช, 2552-07-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 3 : R2R in Tertiary care แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัย R2R 9 กรณีศึกษาที่ได้รับรางวัลดีเด่น ...
    • ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 1 แนวทางการปฏิรูปการเงินการคลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วลัยพร พัชรนฤมล; ไมเคิล ซิชอน; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      งานการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 แต่ได้รับงบประมาณอุดหนุนอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยืนทางการเงิ ...
    • ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 2 ความเป็นไปได้ของแหล่งการเงินต่างๆ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      แหล่งการเงินหลักของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปัจจุบันเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 39 กำหนดให้กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมี 8 แหล่งเงิน การศึกษานี้มีวัตถุประส ...
    • ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 3 การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้กำหนดให้มีการจ่ายร่วมในการรักษาพยาบาลเป็นเงิน ๓๐ บาทต่อครั้ง ยกเว้นผู้ถือบัตรสวัสดิการรักษาพยาบาลสำหรับผู้ที่สังคมควรช่วยเหลือเกื้อกูล ...
    • ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 4 พรบ คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในบริบทของการประกันสุขภาพถ้วนหน้า-ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป 

      วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จงกล เลิศเธียรดำรง (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 แม้ว่าจะเป็นการประกันภาคบังคับ บริษัทประกันวินาศภัยที่มุ่งกำไรเป็นผู้บริหารโครงการนี้ทั้งหมด กฎหมายนี้ให้การคุ้มครองโดยจ่ายสินไหมทดแทนกรณีรักษาพยาบาลไม่เกินเพดานที่กำหนด ...
    • ชุดสิทธิประโยชน์การจ้างงานลูกจ้างชั่วคราวเพื่อจูงใจบุคลากรในระบบบริการสุขภาพภาครัฐ 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; อภิชาติ จันทนิสร์; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษฎา ว่องวิญญู; จิราภรณ์ หลาบคำ; วรางคณา วรราช; Nonglak Pagaiya; Apichart Chantanitr; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou; Chiraporn Lapkom; Warangkhana Worarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สถานการณ์ความต้องการบริการสุขภาพที่เพิ่มขึ้นเป็นเหตุให้ระบบบริการสุขภาพมีความต้องการกำลังคนมากขึ้น นโยบายการลดกำลังคนภาครัฐส่งผลให้ระบบบริการของกระทรวงสาธารณสุขเผชิญปัญหาการขาดแรงจูงใจกำลังคนเข้าสู่ระบบสุขภาพ การศึกษานี้ ...
    • ชุดสิทธิประโยชน์หลักด้านสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Panarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-10)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • ชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมเพื่อประเมินผลการปฏิรูประบบสุขภาพไทย 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมเพื่อประเมินผลการปฏิรูประบบสุขภาพไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบการนำเครื่องมือนี้ไปใช้ในการประเมินผลการปฏิรูประบบสาธารณสุขของจังหวัดภายใต้โครงการปฏิรูประบบสาธารณสุขที่ได้รับการสนับสนุ ...
    • ชุมชนกับการคัดกรองโรคเบาหวาน 

      รัชฏาพร รุญเจริญ; Ratchadaporn Runcharoen; อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์; จำนันต์ ผิวละออ; ประนอม พริยานนท์; ภัทรพล คันศร; เลียง อุปมัย; ธีรพล เศรษฐศรี; แจ่มจันทร์ ศรีนัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      มาตรการหนึ่งที่ใช้ในการควบคุมโรคเบาหวานคือ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ณ สถานบริการสุขภาพ จากจำนวนผู้ป่วยที่มีรายงานต่ำกว่าพื้นที่อื่นๆ ของหมู่บ้านสนามแจ้ง ตำบลไพร อำเภอขุนหาญ โรงพยาบาลขุนหาญจึงได้ทำการศึกษาการมีส่วนร่วมของ ...
    • ชุมชนกับการจัดการอาหารปลอดภัย 

      ละมัย เวทำ (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเปือ จังหวัดน่าน, 2555-07-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • ชุมชนกับการปกครองชีวญาณ : กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีในภาคเหนือของประเทศไทย 

      ทานาเบ, ชิเกฮารุ; Tanabe, Shikeharu (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      หนังสือเล่มนี้ เป็นการศึกษาทางด้านมานุษยวิทยา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจกับความพยายามในการดำรงไว้ซึ่งการมีชีวิตและสุขภาพที่ดีของตนเองเมื่อต้องเผชิญกับความเจ็บป่วยและความทุกข์ภายใต้สถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงของร ...
    • ชุมชนกับการใช้สารเคมีในภาคการเกษตร 

      วิเชียร อันประเสริฐ; Wichean Unprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาเรื่องชุมชนกับการใช้สารเคมีในภาคการเกษตรครั้งนี้ เป็นงานศึกษาโดยใช้วิธีการสืบคืนข้อมูลจากการพูดคุยกับชาวบ้านในฐานะที่เป็นเกษตรกรที่ทำการผลิตในระดับชุมชน โดยเน้นไปที่เกษตรกรในฐานะผู้ใช้สารเคมี การศึกษาครั้งนี้เป็น ...
    • ชุมชนท่าไห ห่วงใย ใส่ใจสุขภาพจิต 

      อุไรวรรณ ศรีระบุตร (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไห จังหวัดอุบลราชธานี, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง ขยายคุณค่างานประจำ: R2R พัฒนาระบบบริการ วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-16.30 น. ณ Jupiter4-5 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
    • ชุมชนร่วมสร้างสุขภาพเด็ก 0-12 ปี บ้านน้ำคา หมู่ที่ 1 ตำบลพญาแก้ว อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน 

      กิติศักดิ์ เกษตรสินสมบัติ; Kittisak Khasetsinsombat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการวิจัยชุมชนร่วมสร้างสุขภาพเด็ก 0-12 ปี หมู่บ้านน้ำคา หมู่ที่ 1 ตำบลพญาแก้ว อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน มีวัตถุประสงค์ 4 ประการ คือ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะเด็กขาดสารอาหาร ในเด็ก 0 – 5 ปี ของบ้านน้ำคา ระดับ 1 ไม่เกินร้อยละ ...
    • ชุมชนร่วมสร้างสุขภาพเด็ก 0-12 ปี บ้านน้ำคา อ.เชียงกลาง 

      ชูชีพ ปัญญานะ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08)
    • ชุมชนวิชาการ : บทเรียนจากพื้นที่ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2551-12-04)
      บทความนี้ได้สรุปจากการประชุมเชิงปฏิบัติการ "การใช้การวิจัยระบบสาธารณสุขเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในระดับพื้นที่" เมื่อวันที่ 26-27 มกราคม 2537 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จัดโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ...
    • ช่วงชั้นทางสังคม ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม และการอธิบายถึงความเป็นประชากรกลุ่มเปราะบางในสังคม 

      นิสาพร วัฒนศัพท์; Nisaporn Wattanasupt; ฐานิดา บุญวรรโณ; Thanida Boonwanno; ศิวาภรณ์ ไชยเจริญ; Siwaporn Chaicharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-12)
      บทความนี้มีเป้าหมายที่จะใช้มโนทัศน์ช่วงชั้นทางสังคมมาอธิบายความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม เพื่อทำความเข้าใจว่าใครคือประชากรกลุ่มเปราะบางในสังคม โดยใช้การทบทวนวรรณกรรมในส่วนของแนวคิด/ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ที่ใช้อธิบายและจัดช่วง ...
    • ช่วงเวลา เหตุผล และปัจจัยในการเริ่มต้นนมผงช่วง 6 เดือนแรกหลังคลอด 

      นิศาชล เศรษฐไกรกุล; Nisachol Cetthakrikul; กิติพร ทัพศาสตร์; Kitiporn Tupsart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      ช่วง 6 เดือนแรกของชีวิตเป็นช่วงเวลาสำคัญที่ทารกควรได้กินนมแม่อย่างเดียวเพื่อให้ทารกได้รับประโยชน์และภูมิคุ้มกันสูงสุดจากน้ำนมของแม่ อย่างไรก็ตาม มีเด็กจำนวนมากได้กินนมผงในช่วงเวลาดังกล่าวด้วย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื ...
    • ช่องทางการสื่อสารของเครือข่าย R2R อุบลศรีโสธรเจริญ 

      ศิริทิพย์ สงวนวงศ์วาน (โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จ.อุบลราชธานี, 2555-07-10)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี