Now showing items 3336-3355 of 5652

    • ทบทวนสภาพปัญหาและการวิจัยเกี่ยวกับระบบยาของประเทศไทย : เอกสารประกอบการประชุมระดมสมองจัดทำแผนงานศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบยา 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; กระทรวงสาธารณสุข. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์; Misnistry of Public Health. Bureau of Health Policy and Strategy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ระบบยามีองค์ประกอบย่อยอันได้แก่ องค์กร บุคคล กระบวนการ และการดําเนินกิจกรรมที่มีความหลากหลายและซับซ้อน นอกจากนี้ระบบยายังมีความสัมพันธ์กับปัจจัยทั้งภายในและภายนอกระบบสุขภาพในหลายลักษณะ ดังนั้น การพัฒนาระบบยาจึงจําเป็นต้อ ...
    • ทรัพยากรบุคคลในระบบสุขภาพ : แนวคิด สถานการณ์ และการบริหารจัดการ 

      ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556-12-24)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมโครงการพัฒนานักวิจัยในเขตสุขภาพ รุ่นที่ 1 วันที่ 23-27 ธันวาคม 2556 ณ ห้องประชุมสานใจ 1 ชั้น 6 อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข
    • ทราบได้อย่างไรว่ามะเร็งเต้านมที่เป็นอยู่มีสาเหตุมาจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมหรือไม่ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      การวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้านมและมีลักษณะทางคลินิกอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยไม่เกิน 45 ปี 2. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยระหว่าง 40-50 ปี และมีญาติใกล้ชิด อย่างน้อย 1 คน เป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งตับอ่อน ...
    • ทฤษฎี 

      สุรเกียรติ อาชานานุภาพ (2551-12-04)
      เข้าสู่แนวคิดและจุดมุ่งหมายของการวิจัยระบบสาธารณสุขที่ถ่ายทอดจากงานเขียนของนักวิจัยระบบสาธารณสุขแห่งเบลเยี่ยม
    • ทฤษฎีและกรอบแนวคิดของการวิจัยเพื่อนำนโยบายสาธารณสุขไปสู่การปฏิบัติ: การวิจัยอย่างเป็นระบบเพื่อค้นหากลยุทธ์การปฏิบัติตามนโยบายที่มีประสิทธิภาพ 

      ศิรินาถ ตงศิริ; Sirinart Tongsiri; ศุภวิตา แสนศักดิ์; Suprawita Saensak; ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง; Chanuttha Ploylearmsang; วรพจน์ พรหมสัตยพรต; Vorapoj Promsattayaprot; สุมัทนา กลางคาร; Sumattana Klangkan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      การนำสิ่งที่กำหนดไว้ในนโยบายไปปฏิบัติ ต้องการองค์ความรู้ที่แตกต่างไปจากการพัฒนานโยบาย ดังนั้น จึงต้องมีการวิจัยการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ (implementation research: IR) เพื่อพัฒนาวิธีการหรือกลยุทธ์ในการนำนโยบายไปปฏิบัติให ...
    • ทศวรรษหน้ากับการพัฒนาแพทย์ 2540-2550 

      วิทุร แสงสิงแก้ว (2551-12-04)
      บทความชิ้นนี้เป็นคำบรรยายของ นพ.วิทุร แสงสิงแก้ว ปลัดกระทรวงสาธารณสุขในการประชุมวิชาการส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 39 ของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ณ จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2538 และได้รับอนุญาตให้นำลงเผยแพร่ในวารสารฉบับนี้ ...
    • ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 1 

      พรเทพ เกษมศิริ; สุรเดช จารุจินดา; วิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียร; ขวัญชนก ยิ้มแต้; สายสุรีย์ นิวาตวงศ์; จรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์; สมชาย ศรีร่มโพธิ์ทอง; จิตรสุดา วัชรสินธุ์; สมุทร จงวิศาล; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; มานัส โพธาภรณ์; สุวัจนา อธิภาส; ภาธร ภิรมย์ไชย; ดาวิน เยาวพลกุล; กัญญ์ทอง ทองใหญ่; เสาวรส ภทรภักดิ์; นภัสถ์ ธนะมัย; ศรัญ ประกายรุ้งทอง; เพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐ; วิชิต ชีวเรืองโรจน์; ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล; ภาณินี จารุศรีพันธุ์; กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ; กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์; จารึก หาญประเสริฐพงษ์; ศิวะพร เกียรติธนะบำรุง; ตุลกานต์ มักคุ้น; สุวิชา แก้วศิริ; ทศพร อัจฉราเจริญยิ่ง; ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์; วันดี ไข่มุกด์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยพัฒนาระบบทะเบียนการให้บริการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมและการฟื้นฟูสมรรถภาพของประเทศไทย ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระยะในเวลา 5 ปี ประกอบด้วย ระยะที่ 1 เป็นการสร้างความร่วมมือกำหนดแนวทางมาตรฐานการให้บริการ ...
    • ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 2 

      ภาธร ภิรมย์ไชย; สุรเดช จารุจินดา; วิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียร; ขวัญชนก ยิ้มแต้; สายสุรีย์ นิวาตวงศ์; จรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์; พรเทพ เกษมศิริ; จิตรสุดา วัชรสินธุ์; สมุทร จงวิศาล; สมชาย ศรีร่มโพธิ์ทอง; มานัส โพธาภรณ์; สุวัจนา อธิภาส; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; ดาวิน เยาวพลกุล; กัญญ์ทอง ทองใหญ่; เสาวรส ภทรภักดิ์; นภัสถ์ ธนะมัย; ศรัญ ประกายรุ้งทอง; เพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐ; วิชิต ชีวเรืองโรจน์; ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล; ภาณินี จารุศรีพันธุ์; กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ; กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์; จารึก หาญประเสริฐพงษ์; ศิวะพร เกียรติธนะบำรุง; ตุลกานต์ มักคุ้น; สุวิชา แก้วศิริ; ทศพร อัจฉราเจริญยิ่ง; ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์; วันดี ไข่มุกด์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมเป็นการรักษาทางเลือกเดียวในปัจจุบัน ซึ่งมุ่งแก้ไขความพิการทางการได้ยินของผู้ที่มีปัญหาการได้ยินทั้งสองข้างในระดับหูหนวกสนิทได้ แต่เนื่องจากการผ่าตัดชนิดนี้โดยเฉพาะอุปกรณ์ประสาทหูเทียมมีค่าใช้จ่าย ...
    • ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 3 

      ภาธร ภิรมย์ไชย; ขวัญชนก ยิ้มแต้; พรเทพ เกษมศิริ; สมชาย ศรีร่มโพธิ์ทอง; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; เสาวรส ภทรภักดิ์; เพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐ; ภาณินี จารุศรีพันธุ์; จารึก หาญประเสริฐพงษ์; สุวิชา แก้วศิริ; ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์; สุรเดช จารุจินดา; สายสุรีย์ นิวาตวงศ์; จิตรสุดา วัชรสินธุ์; มานัส โพธาภรณ์; ดาวิน เยาวพลกุล; นภัสถ์ ธนะมัย; วิชิต ชีวเรืองโรจน์; กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ; ศิวะพร เกียรติธนะบำรุง; ทศพร อัจฉราเจริญยิ่ง; วันดี ไข่มุกด์; วิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียร; จรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์; สมุทร จงวิศาล; สุวัจนา อธิภาส; กัญญ์ทอง ทองใหญ่; ศรัญ ประกายรุ้งทอง; ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล; กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์; ตุลกานต์ มักคุ้น; นิชธิมา ฉายะโอภาส (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      การผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมเป็นการรักษาทางเลือกเดียวในปัจจุบัน ซึ่งมุ่งแก้ไขความพิการทางการได้ยินของผู้ที่มีปัญหาการได้ยินทั้งสองข้างในระดับหูหนวกสนิทได้ แต่เนื่องจากการผ่าตัดชนิดนี้โดยเฉพาะอุปกรณ์ประสาทหูเทียมมีค่าใช้จ่าย ...
    • ทะเบียนผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน 

      จาดศรี ประจวบเหมาะ; Chadsri Phajuabmo; กัมปนาท วีรกุล; รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์; Kamphanat Weerakul; Rangsarit Khanchanawanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการทะเบียนผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ก่อตั้งขึ้นเพื่อศึกษาทางระบาดวิทยาการดําเนินโรคทางคลินิก ประเมินมาตรฐานการักษาโรคกกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในประเทศไทย โดยเริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. ...
    • ทะเบียนผู้ป่วยมะเร็งเด็ก ระยะที่ 1 : ระบาดวิทยาและการดำเนินโรค 

      รัชฎะ ลำกูล; สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย; Thai Society of Hematology; Thai Pediatric Oncology Group, Thai (POG); ชมรมโรคมะเร็งเด็ก (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการวิจัยมะเร็งเด็ก ได้ทําทะเบียนผู้ป่วยมะเร็งเด็กทุกชนิดโดยลงทะเบียนครอบคลุมผู้ป่วยมะเร็งทุกรายที่มีภูมิลําเนาในประเทศไทย การทราบชนิดและอุบัติการณ์ของโรคมะเร็งเด็กจะเป็นข้อมูลที่สําคัญในการวางแผนการศึกษาและการรักษาผู้ป่วยต่อไป ...
    • ทะเบียนอุปกรณ์ภูมิปัญญาชุมชนสำหรับคนพิการ 

      ศิวิไลช์ วนรัตน์วิจิตร; Civilaiz Wanaratwichit; อรวรรณ กีรติสิโรจน์; Orawan Keeratisiroj (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      หนังสือ ทะเบียนอุปกรณ์ภูมิปัญญาชุมชนสำหรับคนพิการ เล่มนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้ภูมิปัญญาชุมชนในการสร้างสรรค์อุปกรณ์คนพิการที่ช่วยเหลือในการฟื้นฟู ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว ช่วยเหลือในการทำงาน จากการสำรวจข้อมูลอุ ...
    • ทักษะการใช้ขาเทียมและคุณภาพชีวิตของคนพิการสูญเสียขาในจังหวัดลำพูน 

      จิณณ์ฐวัตน์ ใจพงษ์; Jinthawat Jaipong; พรพรรณ์ สมบูรณ์; Pornpun Somboon; นพดล เจนอักษร; Nopadol Chenaksara (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-12)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) ความแตกต่างของทักษะการใช้ขาเทียมเมื่อจำแนกตามสาเหตุการสูญเสียขาและระดับการสูญเสียขาของคนพิการสูญเสียขาในจังหวัดลำพูน 2) ความแตกต่างของคุณภาพชีวิตเมื่อจำแนกตามสาเหตุการสูญเสียขาและระ ...
    • ทัศนคติ อุปสรรค และแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับการประยุกต์หลักความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขในเวชปฏิบัติของแพทย์ไทย 

      วิน เตชะเคหะกิจ; รุ่งโรจน์ ทรัพย์สุนทร; ณัฐวุฒิ ช่วยหอม; มัลลิกา บุญเนียม; นลัท ยิ่งทวีวัฒนา; พริมรตา ชุมศรี; Win Techakehakij; Rungrote Subsoontorn; Nutthawut Chuaihom; Mallika Bunneum; Nalat Yingtaweewattana; Primrata Chumsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      ความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากรทางการแพทย์เป็นสิ่งที่ถูกคำนึงถึงเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขเป็นหลักการหนึ่งที่ช่วยในการวางแผนการจัดสรรทรัพยากรทางการแพทย์ใ ...
    • ทัศนคติของบุคลากรสุขภาพต่อการให้บริการสุขภาพแก่คนต่างด้าวและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 

      อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-01)
      การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบหาปัจจัยทำนาย (Descriptive Predictive Design) ใช้วิธีรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในเชิงปริมาณเป็นการศึกษาทัศนคติของบุคลากรสุขภาพต่อการให้บริการสุขภาพคนต่างด้าว เปรียบเทียบท ...
    • ทัศนคติต่อแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ตามมิติด้านสาธารณสุข ด้านเศรษฐกิจ และด้านความมั่นคงของประเทศ 

      ยงยุทธ แฉล้มวงษ์; Yongyuth Chalamwong; สิริมา มงคลสัมฤทธิ์; Sirima Mongkolsomlit; สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์; Srawooth Paitoonpong; กัญญาภัค เงาศรี; Kanyaphak Ngaosri; ขวัญกมล ถนัดค้า; Kwankamon Thanadkah; ราตรี ประสมทรัพย์; Ratree Prasomsup; อัจฉรียา ตันมันทอง; Achareeya Tunmuntong; สุนีย์ แซ่คู; Sunee Sae-Khoo (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09-14)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้ให้ความสำคัญที่จะพัฒนาแนวทางการจัดการและปรับปรุงระบบหลักประกันและบริการทางสุขภาพให้แก่แรงงานข้ามชาติในประเทศไทย โดยอาศัยองค์ความรู้และข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นฐานสู่การพัฒนาตามแผนงานวิจัย ...
    • ทัศนคติและการเลือกงานในชนบทของแพทย์จบใหม่ 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; อภิชาติ จันทนิสร์; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษดา ว่องวิญญู; Nonglak Pagaiya; Viroj Tangcharoensathien; Vijj Kasemsup; Apichart Chantanisr; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สถานการณ์การขาดแคลนแพทย์ เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการขาดแคลนแพทย์ในชนบท งานวิจัยนี้จึงศึกษาทัศนคติและปัจจัยที่ทำให้แพทย์เลือกงานในชนบท โดยการเก็บข้อมูลของบัณฑิตแพทย์กลุ่มที่สำเร็จการศึกษาในปี ...
    • ทัศนคติและระดับความมั่นใจในการทำงานนิติเวชศาสตร์ของแพทย์ทั่วไปในภาคใต้ตอนบน 

      สุรศักดิ์ วิจิตรพงศ์จินดา; Surasak Vijitpongjinda; อภิชัย วรรธนะพิศิษฐ์; Apichai Wattanapisit; อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว; Udomsak Saengow; มุกดาวัลล์ สุขัง; Mukdawan Sukhang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      งานนิติเวชศาสตร์ในประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของแพทย์ประกอบด้วย 2 ส่วนหลักคือ งานด้านการชันสูตรพลิกศพและงานนิติเวชคลินิก ซึ่งทั้งสองส่วนนี้มีความเกี่ยวข้องกับประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและ ...
    • ทัศนะต่อการตรวจคัดกรองโรค 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
    • ทางทะลุติดต่อช่องปากกับโพรงอากาศข้างจมูกบริเวณโหนกแก้ม 

      ปารยะ อาศนะเสน; Paraya Assanasen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ฟิสตุลา คือ ทางทะลุติดต่อระหว่างอวัยวะกลวง 2 อวัยวะ ที่มีเยื่อบุผิวปกคลุม ตามธรรมดาโพรงอากาศข้างจมูกบริเวณโหนกแก้มและช่องปาก ไม่มีทางติดต่อถึงกัน เมื่อเกิดพยาธิสภาพหรือความผิดปรกติจะทำให้มีทางทะลุติดต่อระหว่าง 2 อวัยวะดังกล่าวได้ ...