Now showing items 3362-3381 of 5668

    • ทัศนคติและระดับความมั่นใจในการทำงานนิติเวชศาสตร์ของแพทย์ทั่วไปในภาคใต้ตอนบน 

      สุรศักดิ์ วิจิตรพงศ์จินดา; Surasak Vijitpongjinda; อภิชัย วรรธนะพิศิษฐ์; Apichai Wattanapisit; อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว; Udomsak Saengow; มุกดาวัลล์ สุขัง; Mukdawan Sukhang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      งานนิติเวชศาสตร์ในประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของแพทย์ประกอบด้วย 2 ส่วนหลักคือ งานด้านการชันสูตรพลิกศพและงานนิติเวชคลินิก ซึ่งทั้งสองส่วนนี้มีความเกี่ยวข้องกับประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและ ...
    • ทัศนะต่อการตรวจคัดกรองโรค 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
    • ทางทะลุติดต่อช่องปากกับโพรงอากาศข้างจมูกบริเวณโหนกแก้ม 

      ปารยะ อาศนะเสน; Paraya Assanasen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ฟิสตุลา คือ ทางทะลุติดต่อระหว่างอวัยวะกลวง 2 อวัยวะ ที่มีเยื่อบุผิวปกคลุม ตามธรรมดาโพรงอากาศข้างจมูกบริเวณโหนกแก้มและช่องปาก ไม่มีทางติดต่อถึงกัน เมื่อเกิดพยาธิสภาพหรือความผิดปรกติจะทำให้มีทางทะลุติดต่อระหว่าง 2 อวัยวะดังกล่าวได้ ...
    • ทางสองแพร่ง (Dilemmas) ประเด็นจริยธรรมในการวิจัยทางสังคมศาสตร์สาธารณสุข 

      อรทัย รวยอาจิณ (2541)
      โดยทั่วไปในการทำวิจัย สิ่งที่นักวิจัยมักจะให้ความสำคัญมากที่สุดก็คือ ความถูกต้องตามหลักระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) และการบริหารงานวิจัยไม่ให้เกิดข้อบกพร่องเพื่อให้ผลการวิจัยสมบูรณ์มากที่สุด ดังนั้น บางครั้งจึ ...
    • ทางสองแพร่งของผู้ต้องขังกับการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข 

      สมศักดิ์ ธรรมธิติวัฒน์ (2541)
      สถานการณ์ทางสองแพร่งของผู้ต้องขัง (Prisoner's Dilemma) ในบริบทของการจัดหาเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขในบทความนี้ หมายถึง สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อผู้กำหนดนโยบายในการจัดหาทรัพยากรของสถานบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขต่ ...
    • ทางเลือกการดำเนินการสิทธิประโยชน์เสริม: ข้อค้นพบจากงานวิจัย ประกันการดูแลระยะยาวแบบเสริม 

      รักชนก คชานุบาล; Rakchanok Karcharnubarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • ทางเลือกการปฏิรูปอุตสาหกรรมยาสูบของประเทศไทย 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; กนิษฐา มากมูล; Kanidta Makmool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาเปรียบเทียบแนวคิด สถานการณ์และวิธีการปฏิรูปอุตสาหกรรมยาสูบของรัฐในประเด็นทางด้านการควบคุมยาสูบ การปกครองและข้อตกลงทางการค้าของประเทศต่างๆ (2) วิเคราะห์ฉากทัศน์ของบริบทด้านการปกครอง ...
    • ทางเลือกของการบริหารจัดการคลินิกชุมชนอบอุ่นในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในเขตกรุงเทพมหานคร 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-30)
      เหตุการณ์การยกเลิกสัญญาคลินิกชุมชนอบอุ่นในพื้นที่กรุงเทพมหานครโดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ในช่วงปลายปีงบประมาณ 2563 อันเป็นผลมาจากการตรวจพบความผิดปกติของการเบิกจ่ายในระบบของ สปสช. ทำให้เกิดคำถามสำคัญว่าจะ ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบาย เรื่องกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-07)
      ผลการรักษาหรืออาการที่ไม่พึงประสงค์จากการรับบริการทางด้านสาธารณสุข ไม่ว่าจะเกิดจากเหตุสุดวิสัยหรือความประมาทของผู้ให้บริการทางการแพทย์ก็ตาม นำมาซึ่งความสูญเสียและความขัดแย้งระหว่างผู้รับบริการและผู้ให้การรักษา ซึ่งมีผลกร ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร และแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรและแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายเรื่องกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์ในระบบบริการสาธารณสุข 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      อาการไม่พึงประสงค์จากการรับบริการสุขภาพไม่ว่าจะเป็นเหตุสุดวิสัยหรือจากความประมาทของผู้ให้บริการก็ตามนำมาซึ่งความสูญเสีย และความขัดแย้งระหว่างผู้รับและผู้ให้บริการรักษา และมีผลกระทบต่อระบบบริการด้านสุขภาพของประเทศ ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายในการผลิตกำลังคนด้านสุขภาพในสองทศวรรษหน้า 

      สถาบันพระบรมราชชนก; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข; Praboromarajchanok Insititute; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      รายงานการศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ เรื่องทางเลือกเชิงนโยบายในการผลิตกำลังคนด้านสุขภาพ ในสองทศวรรษหน้าการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคตของระบบสาธารณสุขซึ่งจะเชื ...
    • ทางเลือกในการจัดสรรงบประมาณตามกลุ่มโรคร่วมผู้ป่วยจิตเวชของประเทศไทย 

      บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ; Buppawan Phuaphanprasert; โรงพยาบาลสวนปรุง; Saunprung Hospital (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2549)
      ประเทศไทยในปัจจุบันมีการจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยในทางจิตเวชด้วยวิธีกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (Diagnosis related group: DRG) ซึ่งเมื่อนํามาใช้กับกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชพบว่ามีจุดอ่อนหลายประการ เป็นต้นว่าการที่ DRG ไม่สะท้อนการ ...
    • ทารุณกรรม การละเลยทอดทิ้งเด็ก และพฤติกรรมเสี่ยงถูกกระทำของเด็กในชุมชนชนบท จังหวัดขอนแก่น 

      วิชัย อัศวภาคย์; Vichai Ulvapark; ทิพธิญา เฮียงสอน; Tipthida Hiangson; จิราวรรณ แท่นวัฒนกุล; Jirawan Tanwatanakul†; กิ่งแก้ว โกษโกวิท; Kingkaew Kelgovit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เป็นการวิจัยวิธีระคน เพื่อศึกษาอุบัติการ รูปแบบ ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับทารุณกรรมการละเลยทอดทิ้งเด็ก และพฤติกรรมเสี่ยงการถูกกระทำของเด็ก ในพื้นที่ที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลน้ำพอง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น ...
    • ทำความรู้จักโรคสมาธิสั้น 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      โรคสมาธิสั้น เป็นโรคที่เกิดจากความบกพร่องของพัฒนาการ ในประเทศไทยพบความชุกของโรคในเด็กนักเรียนชั้น ป.1-5 ถึงร้อยละ 8.1 ประมาณการได้ว่ามีเด็กนักเรียนชั้น ป.1-5 ทั่วประเทศป่วยเป็นโรคสมาธิสั้นถึง 1 ล้านคน และมักพบในเด็กชายมา ...
    • ทำอะไร อย่างไร ในการประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลกครั้งที่ 58 

      วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      องค์การอนามัยโลกจัดให้มีการประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลกขึ้นทุกๆปี ละ 1 ครั้ง ผลลัพธ์ของการประชุมคือ การจัดทำข้อตกลงด้านสุขภาพอย่างเป็นทางการ การประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลกประจำปี พ.ศ. 2548 เป็นการประชุมครั้งที่ 58 ...
    • ทำไมคนไทยถึงขี้เมา 

      ทักษพล ธรรมรังสี (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      องค์กรอนามัยโลกได้รายงานว่าปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์เฉลี่ยในประชากรผู้ใหญ่ไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงเวลากว่าสี่ทศวรรษที่ผ่านมา ทั้งในส่วนของสุรากลั่นและเบียร์ แต่สถานการณ์ในไทยมีลักษณะแตกต่างจากประเทศที่มี ...
    • ทำไมต้องควบคุมการโฆษณาและส่งเสริมการขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยสิ้นเชิง 

      บัณฑิต ศรไพศาล (ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา, 2550-02)
      เอกสารวิชาการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายเหตุผลประกอบการพิจารณาว่าจำเป็นต้องควบคุมการโฆษณาและการส่งเสริมการขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยสิ้นเชิงหรือไม่