Now showing items 4293-4312 of 5660

    • ระบบบริการสุขภาพและหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุประเทศอังกฤษ 

      วรรณภา ศรีธัญรัตน์; Wannapa Srithanyarat; ผ่องพรรณ อรุณแสง; กัลยา พัฒนศรี; เพ็ญจันทร์ เลิศรัตน์; รัชมล คติการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      ในกระบวนการสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับระบบบริการสุขภาพและการสร้างหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุของประเทศไทยและประเทศที่คัดสรร ได้แก่ อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น สิงคโปร์ เพื่อจัดทำข้อเสนอในการปฏิรูปและการ ...
    • ระบบบริการสุขภาพและหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุประเทศไทย 

      วรรณภา ศรีธัญรัตน์; Wannapa Srithanyarat; ผ่องพรรณ อรุณแสง; กัลยา พัฒนศรี; เพ็ญจันทร์ เลิศรัตน์; รัชมล คติการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      ในกระบวนการสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับระบบบริการสุขภาพและการสร้างหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุของประเทศไทยและประเทศที่คัดสรร ได้แก่ อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น สิงคโปร์ เพื่อจัดทำข้อเสนอในการปฏิรูปและการ ...
    • ระบบบริการสุขภาพและหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุไทย : นานาทัศนะของผู้ทรงคุณวุฒิ 

      วรรณภา ศรีธัญรัตน์; Wannapa Srithanyarat; ผ่องพรรณ อรุณแสง; กัลยา พัฒนศรี; เพ็ญจันทร์ เลิศรัตน์; รัชมล คติการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
    • ระบบบริการสุขภาพในภาวะฉุกเฉินในประเทศพัฒนา 

      อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์; Adisak Plitponkarnpim; กิ่งแก้ว อุดมชัยกุล; จิราวรรณ กล่อมเมฆ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ระบบบริการสุขภาพในภาวะฉุกเฉินในประเทศที่พัฒนาแล้ว มักมีจุดเริ่มต้นจากความพยายามที่ต้องการลดการสูญเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ โดยเฉพาะในกลุ่มวัยทำงาน จากนั้นการพัฒนาได้ขยายการครอบคลุมไปจนถึงการเจ็บป่วยอื่นๆ ที่อยู่ภาวะฉุกเฉิน ...
    • ระบบบริการสุขภาพในภาวะวิกฤต 

      สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ; สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; พงค์เทพ สุธีรวุฒิ; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; เมตตา กูนิง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทในการบริหารจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นของระบบสุขภาพ ได้สนับสนุนให้มีการวิจัยในการขับเคลื่อนกลไกการจัดการความรู้เพื่อสันติสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้ ...
    • ระบบบริการส่งเสริมสุขภาพในสตรีวัยกลางคน 

      สุกัญญา ปริสัญญกุล; Sukanya Parisanyakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์บริการสุขภาพสำหรับสตรีวัยกลางคนของสถานบริการต่างๆ ในภาครัฐและเอกชนในภาคเหนือ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก การสนทนากลุ่ม การสังเกตในสถานการณ์ต่างๆ ...
    • ระบบบริการเวชปฏิบัติทั่วไปในประเทศไทย : สถานการณ์และข้อเสนอต่อการพัฒนา 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; สงวน นิตยารัมภ์พงศ์; ปิยธิดา ศรีรักษา; ประภาพรรณ คำคม (สถาบันวิจัยสาธารณสุขไทย ; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
    • ระบบบริการแท็กซี่เพื่อคนพิการของเมืองพิษณุโลก 

      พัฒนา ราชวงศ์; สิทธิชัย ชูสำโรง; อัมพวัลย์ คำเชียงเงิน; Pathana Rachavong; Sittichai Choosumrong; Amphawan Kham-Chiangngern (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      งานวิจัย เรื่อง “ระบบบริการแท็กซี่เพื่อคนพิการของเมืองพิษณุโลก”นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความต้องการเดินทางของคนพิการและการให้บริการของผู้ประกอบการ/คนขับแท็กซี่ โดยได้ทบทวนเพื่อหาข้อกำหนด/มาตรฐานบริการเดินทางของคนพิการ ...
    • ระบบบริการให้การปรึกษาโรคเอดส์ในหญิงตั้งครรภ์จังหวัดบุรีรัมย์ 

      สุภาพร อาษากิจ; Supaporn Asakij; จนิด กมลชัย; อาภัสรา วงศ์สัมพันธ์ชัย; สุภาวดี เหลืองขวัญ; ประเสริฐ เก็บประโคน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      System of Counselling Services on AIDS for Pregnant Women in Buriram ProvinceThe purpose of this study was to analyse the HIV/AIDS counselling system for the pregnant in Burisum province. The health officials’ ability to ...
    • ระบบบริหารงานโรงพยาบาลรัฐกับโรงพยาบาลเอกชน : การบริหารจัดการทางการเงินและธุรกิจสำหรับโรงพยาบาลรัฐที่จะบริหารอย่างอิสระ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ชาญวิทย์ ทระเทพ; จเด็จ ธรรมธัชอารี; วินัย ลีสมิทธิ์; Chanvit Tharathep; Jadej Thammatacharee; Vinai Leesmidt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      Management of public and private hospitals : financial and business apportunities for the autonomous hospitalsThe aim of this research was to compare the managerial systems between the sampled public and private hospitals ...
    • ระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์โควิด-19: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบุษราคัม 

      อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat; อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์; Thitinut Akkadechanunt; ชญาภา แสนหลวง; Chayapha Sanluang; เกศราภรณ์ อุดกันทา; Kedsaraporn Udkunta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      โรงพยาบาลบุษราคัมเป็นโรงพยาบาลสนามขนาดใหญ่เฉพาะด้านในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายระบบบริหารจัดการ ปัญหา/อุปสรรค และกลยุทธ์ในการบริหารจัดการของโรงพยาบาลบุษราคัมและให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบา ...
    • ระบบปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนความเป็นเลิศด้านชีวสารสนเทศทางการแพทย์ครบวงจร สำหรับภูมิภาคใต้ตอนล่าง ในเขตสุขภาพที่ 12 

      สุรศักดิ์ สังขทัต ณ อยุธยา; Surasak Sangkhathat; อมรรัตน์ พงศ์ดารา; Amornrat Phongdara; คมวิทย์ สุรชาติ; Komwit Surachat; ภาสรัตน์ คงขาว; Pasarat Khongkow; วิศลย์ เหล่าเจริญสุข; Wison Laochareonsuk; วันวิสาข์ มณีฉาย; Wanwisa Maneechay (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-05)
      โครงการวิจัย ระบบปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนความเป็นเลิศด้านชีวสารสนเทศครบวงจร สำหรับภูมิภาคใต้ตอนล่าง ในเขตสุขภาพที่ 12 (Operational system for excellence in medical bioinformatics for lower southern Thailand in health region ...
    • ระบบประกันสังคมของไทย 

      ภัทชา ด้วงกลัด (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)
      ระบบประกันสังคมเป็นหลักประกันสังคมสำคัญที่ช่วยให้กำลังแรงงานของประเทศจัดการกับความเสี่ยงในการดำรงชีวิตได้ ซึ่งถือเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ถึงแม้ว่าระบบการประกันสังคมของไทยจะมีมานานกว่า ...
    • ระบบประกันสุขภาพ 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2551-12-04)
      การปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข กำลังเป็นกระแสใหญ่ทั่วโลก การประกันสุขภาพเป็นประเด็นสำคัญอย่างหนึ่งของระบบบริการ บทความนี้ผู้เขียนได้ทบทวนเกี่ยวกับระบบประกันสุขภาพในระดับสากลและในประเทศไทย สรุปปัญหาและทางออกไว้ด้วย
    • ระบบประกันสุขภาพ : องค์ประกอบและทางเลือก 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจตราศิลป์; Sauwakon Ratanawijitrasin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      นโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค เป็นความพยายามในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับประชาชนทุกคน จากการที่ได้ติดตามประเด็นที่มีการอภิปรายในช่วงระยะเวลา 2 ปี ที่ผ่านมา ทั้งในวงการสาธารณสุข วงการนิติบัญญัติ ตลอดจนความเห็นสาธารณะ ...
    • ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2540)
      บทความวิจัยเรื่องนี้ได้ศึกษาวิวัฒนาการของระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยอย่างละเอียด นับแต่ปี พศ. 2534-2539 ได้สะท้อนแนวโน้มการพัฒนาและให้ข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อไตรภาคีคือ รัฐ นายจ้าง และลูกจ้าง รวมทั้งประชาชนโดยรวม ...
    • ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย 

      สำนักงานประกันสุขภาพ; มูลนิธิเยอรมันเพื่อการพัฒนานานาชาติ; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      หนังสือ ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย เป็นการรวบรวมผลการศึกษา ทบทวนประสบการณ์การจัดระบบหลักประกันสุขภาพภายในประเทศไทย ซึ่งจะเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับใช้เรียนรู้ วิเคราะห์ และวิจัยให้มองเห็นจุดอ่อน จุดแข็ง และจุดเปลี่ยนผ่านที่ ...
    • ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย - คำถามวิจัยที่สำคัญ 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)
      โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าดำเนินการเต็มพื้นที่ในปีงบประมาณ ๒๕๔๕ เนื่องจากเป็นโครงการระดับชาติ การกำหนดและปรับเปลี่ยนนโยบายเพื่อให้โครงการฯบรรลุวัตถุประสงค์มีความจำเป็นจะต้องอาศัยข้อมูลทางวิชาการและงานวิจัยที่สำคัญ ๖ ด้าน ...
    • ระบบผู้เชี่ยวชาญช่วยแนะนำโภชนาการและการทำกายภาพบำบัดสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังสูงวัยบนอุปกรณ์พกพาเคลื่อนที่ 

      เทวิน ธนะวงษ์; Tawin Tanawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-02)
      งานวิจัยนี้นำเสนอการใช้เทคนิคเหมืองข้อมูลสร้างโมเดลสนับสนุนการทำงานในลักษณะระบบผู้เชี่ยวชาญช่วยแนะนำโภชนาการและการทำกายภาพบำบัดสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 6 ชนิด ซึ่งพัฒนาโมเดลด้วยโปรแกรมเวก้า3.6.9 โดยใช้อัลกอริธึมแบ่งกลุ่ม ...
    • ระบบภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ 

      ภาวิน ศิริประภานุกูล; Pawin Siriprapanukul (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)
      โดยหลักการแล้ว การวิเคราะห์ระบบภาษีของประเทศใดประเทศหนึ่ง จำเป็นจะต้องวิเคราะห์ควบคู่ไปกับโครงสร้างรายจ่ายของรัฐบาลในประเทศนั้นๆ ด้วย เนื่องจากโดยปกติแล้ว ภาษีคือแหล่งรายได้ที่สำคัญที่สุดของรัฐบาล ซึ่งในกรณีที่รัฐบาลมีคว ...