Now showing items 1-8 of 8

    • Knowledge translation “Peripheral arterial disease” 

      Kittipan Rerkasem; กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม (คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2557-09-04)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • การศึกษาปัจจัยเสี่ยงช่วงตั้งครรภ์และช่วงขวบปีแรก กับการเกิดเมตาบอลิกซินโดรมและโรคหลอดเลือด เมื่ออายุ 30 ปี 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; Kittipan Rerkasem; ปิยะมิตร ศรีธรา; Piyamitr Sritara; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; Ampica Mangklabruks; ศักดา พรึงลำภู; Sakda Pruenglampoo; อมราภรณ์ ฤกษ์เกษม; Amaraporn Rerkasem; กรองพร องค์ประเสริฐ; Krongporn Ongprasert; สุชยา ลือวรรณ; Suchaya Luewan; กนกวรรณ กุลประชากานต์; Kanokwan Kulprachakarn; วสันต์ ภาคลักษณ์; Wason Parklak; ศศิณัฏฐ์ พงษ์ธรรม; Sasinat Pongtam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบุตรที่มีน้ำหนักแรกคลอดน้อยกับกลุ่มอาการเมตาบอลิกซินโดรมของบุตรที่ได้ศึกษาน้ำหนักแรกเกิดเมื่อ 30 ปีที่แล้ว ทั้งนี้ยังทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่า ...
    • ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ณ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ 

      จักรกฤษณ์ วังราษฎร์; Jukkrit Wungrath; กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; Kittipan Rerkasem; สุวินัย แสงโย; Suwinai Saengyo; ศศิณัฏฐ์ พงษ์ธรรม; Sasinat Pongtam; นิภาภรณ์ ปิ่นมาศ; Nipaporn Pinmars (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      ภาวะทุพโภชนาการจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม เป็นสาเหตุให้เกิดภาวะโรคร่วมและอัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศ ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยในอดีตพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายมีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ในระยะเวลา 3 ปี กลุ่มวิจัยจึงมีความประสงค์เพื่อค้นหาสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยงในการติดตามผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นเวลา ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย (ต่อเนื่องปีที่ 2) 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยในอดีตพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงที่ขาตีบตัน หรือโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral artery disease-PAD) มีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ในระยะเวลา 3 ปี กลุ่มวิจัยจึงมีคว ...
    • ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย ต่อเนื่องปีที่ 3 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในอดีตพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงที่ขาตีบตัน หรือโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral artery disease-PAD) มีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ...
    • แนวทางปฏิบัติที่ดีในผู้ป่วยที่มีเส้นฟอกไต (ปีที่ 3) 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; Kittipan Rerkasem; ดิเรก บรรณจักร์; Derek Bunnachak; ศุภโชค มาศปกรณ์; Supachok Maspakorn; เติมพงศ์ เรียนแพง; Termpong Reanpang; ชนาวิทย์ สิทธิสมบัติ; Chanawit Sitthisombat; วุฒิกร ศิริพลับพลา; Wuttikorn Siriplubpla (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-10)
      จุดประสงค์: จากแนวทางการปฏิบัติแนะนำ (guideline) ทั้งในประเทศและต่างประเทศแนะนำว่าผู้ป่วยที่มีไตวายระยะสุดท้าย การฟอกไตควรทำผ่านเส้น (arteriovenous access ; AVA) โดยไม่ควรมีการแทงสายชั่วคราวมาก่อน (central venous catheter ...
    • แนวทางปฏิบัติที่ดีในผู้ป่วยที่มีเส้นฟอกไต ปีที่ 2 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; Kittipan Rerkasem (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      จากแนวทางการปฏิบัติแนะนำ (guideline) ทั้งในประเทศและต่างประเทศจำนวนมากมาย แนะนำว่าผู้ป่วยที่มีไตวายระยะสุดท้าย การทำเส้นฟอกไตควรทำก่อนที่จะมีการแทงสายชั่วคราวในหลอดเลือดดำใหญ่ แต่ในประเทศไทยนั้นความเป็นจริงผู้ป่วยส่วนมาก ...