Now showing items 1-4 of 4

    • การประเมินการได้รับกรดเบนโซอิกจากการบริโภคอาหารของคนไทยตามค่าสูงสุดในมาตรฐานทั่วไปสำหรับวัตถุเจือปนอาหารของโคเด็กซ์ 

      เวณิกา เบ็ญจพงษ์; อาณดี นิติธรรมยง; วีรยา การพานิช; นิภา โรจน์รุ่งวศินกุล; ปิยนุช วิเศษชาติ; นริศรา ม่วงศรีจันทร์; จิรารัตน์ เทศาศิลป์; Wenika Benjapong; Anadi Nitithamyong; Weeraya Karnpanit; Nipa Rojroongwasinkul; Piyanuch Visetchart; Narissara Moungsrichan; Jirarat Thasasilp (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      กรดเบนโซอิกและเกลือเบนโซเอตเป็นวัตถุเจือปนอาหารที่อนุญาตให้ใช้ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 281 ปริมาณที่อนุญาตให้ใช้กรดเบนโซอิกและเกลือเบนโซเอตตามประกาศฉบับนี้ควรมีความสอดคล้องกับมาตรฐานสากลและสามารถคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภคได้ ...
    • การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 

      สมนึก กุลสถิตพร; Somnuke Gulsatitporn; วัลลา ตันตโยทัย; Valla Tantayotai; ทิพยเนตร อริยปิติพันธ์; Tipayanate Ariyapitipun; สิริเนตร กฤติยาวงศ์; Sirinate Krittiyawong; นิภา โรจน์รุ่งวศินกุล; Nipa Rojroongwasinkul; จงจิตร อังคทะวานิช; Jongjit Angkatavanich; วินัย ดะห์ลัน; Winai Dahlan; เทพ หิมะทองคำ; Thep Himathongkam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในผู้ป่วยเบาหวานที่อาศัยอยู่ในชุมชนเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร 196 คน เป็นชาย 43 คน และ หญิง 153 คน อายุเฉลี่ย 58.4 ± 9.2 ปี ...
    • การส่งเสริมโภชนาการช่วงแรกของชีวิตในระบบงานอนามัยแม่และเด็ก ปีที่ 1 

      พัตธนี วินิจจะกูล; ทิพวัลย์ พงษ์เจริญ; นิภา โรจน์รุ่งวศินกุล; ศิริพร ตันติโพธิ์พิพัฒน์; สืบพงษ์ กอวชิรพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      โภชนาการที่เหมาะสมสำหรับมารดาและทารกตั้งแต่มีการปฏิสนธิ จนตลอดสองปีแรก หรือ “1000 วันแรกของชีวิต” มีความสำคัญต่อการเติบโต สุขภาพ และศักยภาพทางสติปัญญา การสำรวจระดับประเทศพบว่าปัญหาทางโภชนาการในแม่และเด็กเปลี่ยนจากภาวะการ ...
    • พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มผสมแคฟเฟอีน ในประเทศไทย 

      ยงยุทธ ขจรธรรม; Yongyout Kachondham; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; จิตรา เศรษฐอุดม; พรพิศ ศิลขวุธท์; นิภา โรจน์รุ่งวศินกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2536)
      พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มผสมแคฟเฟอีน ในประเทศไทย การวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัญหา การบริโภคเครื่องดื่มผสมแคฟเฟอีนในประเด็นต่างๆ วิธีดำเนินการโดยเก็บข้อมูลจากประชากรกลุ่มอาชีพต่างๆ จำนวน ...