Now showing items 1-14 of 14

    • กลไกและมาตรการในการลดความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบประกันสุขภาพ National (Information) Clearing House และ มาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพ 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin (ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย, 2556-04-25)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
    • การขับเคลื่อนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในระบบบริการสุขภาพ 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ทัสนีย์ จันทร์น้อย; บุญชัย กิจสนาโยธิน; กฤติยา ศรีประเสริฐ; เทียม อังสาชน (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2556-04-25)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
    • การประเมินผลการดำเนินงานเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน 

      ไพบูลย์ สุริยะวงค์ไพศาล; ธีระ วรธนารัตน์; บุญชัย กิจสนาโยธิน; รัศมี ตันศิริสิทธิกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-08-30)
      รายงานชิ้นนี้ มุ่งประเมินการทำงานของ CRCN โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เปรียบเทียบผลผลิตและผลลัพธ์(outputs & outcomes) ของงาน CRCN กับข้อผูกพันตามสัญญารับทุน (accountability) ตลอดจนอธิบายที่มาที่ไปของความคลาดเคลื่อนที่อาจค้นพบ ...
    • การประเมินระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพฉบับสมบูรณ์ กรณีศึกษาประเทศไทย 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; คเณศ สัมพุทธานนท์; Kanet Sumputtanon; เพียงหทัย อินกัน; Pianghatai Ingun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      สถิติชีพ (Vital Statistics) เป็นดัชนีชี้วัดสำคัญในการติดตามความสำเร็จของเป้าหมายการพัฒนาสหัสวรรษ (MDG-Millennium Development Goal) อันเป็นมติที่สำคัญขององค์การสหประชาชาติ (United Nation) สถิติชีพที่มีความถูกต้อง ...
    • การประเมินระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพแบบเร็ว : กรณีศึกษาประเทศไทย 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; คเณศ สัมพุทธานนท์; Kanet Sumputtanon; เพียงหทัย อินกัน; Pianghatai Ingun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      สถิติชีพ (Vital Statistics) เป็นดัชนีชี้วัดสำคัญในการติดตามความสำเร็จของเป้าหมายการพัฒนาสหัสวรรษ (MDG-Millennium Development Goal) อันเป็นมติที่สำคัญขององค์การสหประชาชาติ (United Nation) สถิติชีพที่มีความถูกต้อง ...
    • การประเมินระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงทศวรรษแรก 2544-2553 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; จิรบูรณ์ โตสงวน; นุชรี ศรีวิโรจน์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วินัย ลีสมิทธิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; นุศราพร เกษสมบูรณ์; บุญชัย กิจสนาโยธิน; ครรชิต สุขนาค; จเด็จ ธรรมธัชอารี; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สงครามชัย ลีทองดี; Hughes, David (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      ทำการประเมินในปี พ. ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ ประเมินว่าการปฏิรูปในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีประเด็นใดบ้างที่ประสบผลสำเร็จ และประเด็นใดบ้างที่ไม่ประสบผลสำเร็จ ...
    • การวิจัยเพื่อพัฒนาต้นแบบการบูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการพัฒนาเทคโนโลยีระบบดิจิทัลเพื่อการจัดบริการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในระบบปฐมภูมิในประเทศไทย 

      ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai; ประพัฒน์ สุริยผล; Prapat Suriyaphol; บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; กวิน สิริกวิน; Kwin Sirikwin; ณัฐดนัย ไทยพิพัฒน์; Natdanai Thaipipat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      ชุดโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาต้นแบบการบูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการพัฒนาเทคโนโลยีระบบดิจิทัลเพื่อการจัดบริการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในระบบปฐมภูมิในประเทศไทย วางแผนการดำเนินงาน 3 ปี สำหรับในปีแรก แบ่งการศึกษาออกเป็น ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอแพลตฟอร์มสุขภาพดิจิทัลตามนโยบายปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขในเขตสุขภาพนำร่อง ประเด็นโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และโรคไม่ติดต่อ 

      อนันต์ กนกศิลป์; Anant Kanoksilp; บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; กนกวรรณ มาป้อง; Kanokwan Mapong; รุ่งนิภา อมาตยคง; Roongnipa Amattayakong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      เนื่องจากระบบข้อมูลสารสนเทศสุขภาพของประเทศไทยมีหลายระบบ มีข้อมูลตัวชี้วัดโครงการต่างๆ มากมายมีความซ้ำซ้อนไม่สามารถบูรณาการกันได้ ทั้งระบบรายงานและการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ยังไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ การศึกษาครั ...
    • ฐานข้อมูลกลางเพื่อการกำหนดกลไกการกำหนดราคาและกลไกการจ่าย 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • ธรรมาภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • บริการสุขภาพปฐมภูมิแบบไร้รอยต่อกับความจริงด้านมาตรฐานข้อมูลสุขภาพที่ผู้คนมักไม่ตระหนัก 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      ประเทศไทยให้ความสำคัญกับระบบสุขภาพปฐมภูมิมานานกว่าสองทศวรรษ มีนโยบายจำนวนมากลงมาสู่ระบบสุขภาพปฐมภูมิ แต่ระบบข้อมูลบริการสุขภาพที่จำเป็นและเป็นมาตรฐานได้รับการพัฒนาช้ากว่าที่ควร ซึ่งเป็นความจริงที่ตระหนักกันน้อยว่ามาตรฐาน ...
    • บูรณาการระบบข้อมูลสุขภาพ: คานงัดของระบบบริการสุขภาพที่เน้นคุณค่า 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • มาตรฐาน LOINC กับระบบข้อมูลสุขภาพของไทย 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; ดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์; Boonchai Kijsanayotin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-02)
      ประเทศไทยยังไม่มีรหัสมาตรฐานด้านการตรวจทางคลินิกซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ข้อมูลทางคลินิกที่เกี่ยวข้องกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการทางคลินิก (Laboratory Information) ของหน่วยงานต่างๆ ไม่สามารถทำงานร่วมกันได้ การมีรหัสมาตร ...
    • รูปแบบการอภิบาลระบบสุขภาพดิจิทัล: ข้อเสนอสำหรับระบบสุขภาพไทย 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; กมนต์ภรณ์ สุวรรณทวีมีสุข; Kamonporn Suwanthaweemeesuk; อนวัช รัชธร; Anawat Ratchatorn; เทียม อังสาชน; Tiem Ungsachon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ความเป็นมา ผลการศึกษาระบบสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ของไทย (eHealth in Thailand) ในปี พ.ศ. 2553 โดยกระทรวงสาธารณสุขและองค์การอนามัยโลกประจำประเทศไทยพบว่า ประเทศไทยยังไม่มีกลไกการอภิบาลระบบข้อมูลสุขภาพหรือระบบสุขภาพดิจิทัล ...