Now showing items 1-20 of 44

    • HSRI-FORUM ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 : ปฏิรูป...วิจัยระบบสุขภาพ 

      ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)
      เกาะติดประเด็นร้อนกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญด้าน “การวิจัยสุขภาพ” ของการ “REFORM สวรส.” สู่บทบาทที่ครอบคลุมทุกมิติงานวิจัยด้านสุขภาพของประเทศ ในการผลักดันกฎหมายจัดตั้งสำนักงานส่งเสริมและวิจัยสุขภาพ
    • การกระจายและการใช้ยาปฏิชีวนะของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิก และร้านยา 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ความไม่สอดคล้องระหว่างรายการยาปฏิชีวนะที่มีใช้ในหน่วยบริการ กับศักยภาพการให้บริการของหน่วยบริการ อาจทำให้เกิดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผล อันจะส่งผลต่อการเกิดเชื้อดื้อยา การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกระจายแล ...
    • การคลังระยะยาวของโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ : ประมาณการรายจ่ายและแหล่งรายรับ 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; Viroj Tangcharoensathien; Cichon, Michael; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai; Kanjana Tisayaticom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 อยู่ แต่ได้รับการงบประมาณอุดหนุน ด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้ และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยื ...
    • การควบคุมราคายา: บทเรียนจากอดีต ข้อค้นพบปัจจุบัน และข้อเสนอสำหรับอนาคต 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พรพิศ ศิลขวุธท์; ภูษิต ประคองสาย; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Supon Limwattananon; Chulaporn Limwattananon; On-anong Waleekhachonloet; Pornpit Silkavute; Phusit Prakongsai; Weerasak Puthasri; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การควบคุมราคายาเป็นส่วนหนึ่งของการจำกัดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ บทความนี้ทบทวนวิธีควบคุมราคายาในประเทศที่พัฒนาแล้ว วิเคราะห์ประสบการณ์ที่ผ่านมาของประเทศไทยในการควบคุมราคายาภาครัฐ และนำเสนอข้อค้นพบล่าสุดของแผนงานวิจัยราคายา ...
    • การจัดระบบบริการด้านรังสีรักษากับความต้องการและการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคมะเร็งในประเทศไทยปีงบประมาณ 2545 

      ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ศุภวาณี สำเภานนท์; Somsak Chunharas; Viroj Tangcharoensathien; Supawanee Sumpaonon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ด้วยเหตุผลที่โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่มีความสำคัญเป็นลำดับต้นของประเทศ และในขณะที่งานรังสีรักษามีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการบำบัดรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งทั้งในระยะเริ่มต้นและระยะสุดท้าย แต่สภาพปัญหาในปัจจุบันพบว่า ...
    • การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; Walaiporn Patcharanarumol; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai; Kanjana Tisayaticom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 โดยได้รับเงินงบประมาณสนับสนุนการดำเนินการ เพื่อให้ประชาชนได้รับสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลและสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพเมื่อเจ็บป่วย ...
    • การประเมินความคุ้มค่าการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะกลางและระยะท้าย ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan; ประเวชย์ มหาวิฑิตวงศ์; Prawej Mahawithitwong; ประวัฒน์ โฆสิตะมงคล; Prawat Kositamongkol; สัญหวิชญ์ จันทร์รังสี; Sanhawit Janrungsee; บัณฑูร นนทสูติ; Bunthoon Nonthasoot; กรกช เกษประเสริฐ; Goragoch Gesprasert; กิตติพงศ์ ชัยบุตร; Kittipong Chaiyabutr; ธราธิป ศรีสุข; Tharatip Srisuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอชุดสิทธิประโยชน์สำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะกลางและระยะท้าย โดยรูปแบบของการศึกษาประกอบด้วยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การเก็บข้อมูลปฐมภูมิจากผู้ป่วยโรคตับแ ...
    • การประเมินผลเพื่อพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพกองทุนสุขภาพระดับตำบลในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าภายใต้แนวคิดการบริหารจัดการที่ดี 

      สุริยะ วงศ์คงคาเทพ; ภูษิต ประคองสาย; สุณี วงศ์คงคาเทพ; อังคณา จรรยากุลวงศ์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสาธารณสุขระหว่างประเทศ, 2553-01)
      การประเมินผลเพื่อพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพกองทุนสุขภาพระดับตำบลในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าภายใต้แนวคิดการบริหารจัดการที่ดี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินสถานการณ์การดำเนินงานโดยรวมของกองทุน 2) วิเคราะห์สภาพจริงของการ ...
    • การประเมินระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงทศวรรษแรก 2544-2553 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; จิรบูรณ์ โตสงวน; นุชรี ศรีวิโรจน์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วินัย ลีสมิทธิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; นุศราพร เกษสมบูรณ์; บุญชัย กิจสนาโยธิน; ครรชิต สุขนาค; จเด็จ ธรรมธัชอารี; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สงครามชัย ลีทองดี; Hughes, David (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      ทำการประเมินในปี พ. ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ ประเมินว่าการปฏิรูปในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีประเด็นใดบ้างที่ประสบผลสำเร็จ และประเด็นใดบ้างที่ไม่ประสบผลสำเร็จ ...
    • การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพกับการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; อกนิฏฐา พูนชัย; Akanittha Poonchai; กุมารี พัชนี; Kumaree Patchanee; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2552 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ให้มีความครอบคลุมมากขึ้นด้วยกระบวนการที่เป็นระบบ โปร่งใสและอยู่บนพื้นฐา ...
    • การลดความยากจนจากรายจ่ายด้านสุขภาพ : ผลลัพธ์ของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsait (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-03)
      วัตถุประสงค์ที่สำคัญของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยนอกจากเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นของประชากรแล้ว การลดความเสี่ยงของครัวเรือนจากภาระค่าใช้จ่ายเมื่อเจ็บป่วยเป็นเป้าหมายที่สำคัญอีกประการหนึ่ง ...
    • การศึกษาประสิทธิผลและการประเมินความคุ้มค่าการรักษาด้วยเครื่องพลาสมาเฟเรซิส 

      สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; ธนวรรณ ปรีพูล; Tanawan Preepul; ศิริรัตน์ อนุตระกูลชัย; Sirirat Anutrakulchai; จารุพร พรหมวงศ์; Jaruporn phromwong; เกษราพร วงษ์บา; Ketsaraporn Wongba; มนธรี สวโรจน์; Montaree Sawarojh; จิราวดี น้อยวัฒนกุล; Jirawadee Noiwattanakul; สหรัฐ อังศุมาศ; Saharat Aungsumart; เมธา อภิวัฒนากุล; Metha Apiwattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      Therapeutic Apheresis คือ การรักษาผู้ป่วยด้วยการแยกเอาส่วนประกอบที่อยู่ในเลือด เช่น เม็ดเลือดขาว น้ำเหลือง สารที่อยู่ในน้ำเหลืองซึ่งเป็นสาเหตุของโรคออกจากตัวผู้ป่วย จากการทบทวนวรรณกรรมอย่างรอบด้าน พบว่าข้อบ่งชี้ของการทำ ...
    • การศึกษาวิเคราะห์ช่องว่างงานวิจัยด้านการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 

      วิชช์ เกษมทรัพย์; Vijj Kasemsap; วรรณสุดา งามอรุณ; Wansuda Ngam-Aroon; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisal; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2556)
      โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เป็นภาระต่อเศรษฐกิจและสังคมที่สำคัญในระดับโลก ทั้งนี้เพราะกลุ่มโรคดังกล่าวบั่นทอนสุขภาพและศักยภาพในการดำเนินชีวิตประจำวันของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง และไม่มีทางรักษาให้หายขาดได้ ดังนั้นค่าใช้จ่าย ...
    • การศึกษาเพื่อประเมินหัวข้อปัญหาหรือเทคโนโลยีด้านสุขภาพเพื่อประกอบการพิจารณาเป็นสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีพ.ศ. 2559-2560 (ภายใต้โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) 

      ภูษิต ประคองสาย; กุมารี พัชนี; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; สุรัชดา ชนโสภณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01)
      รายการหัวข้อปัญหาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพที่ได้ทำการประเมินในระหว่างเดือนตุลาคม 2559 ถึง มกราคม 2561 เป็นหัวข้อที่มีความสำคัญและจำเป็นต้องมีการศึกษา เพื่อใช้ผลการศึกษาประกอบการพิจารณาเป็นชุดสิทธิประโยชน์ สำนักงานหลักประกัน ...
    • การสำรวจการเข้าถึงสถานพยาบาลและรายจ่ายด้านสุขภาพของผู้ป่วยที่เสียชีวิต พ.ศ. 2548-2549 

      ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท; อรศรี ฮินท่าไม้; อาทิตยา เทียมไพรวัลย์; Viroj Tangcharoensathien; Phusit Prakongsai; Chitpranee Vasavid; Onsri Hinthamai; Artitaya Tiampriwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การสำรวจครั้งนี้เป็นการศึกษาการเข้าถึงบริการสาธารณสุข อัตราและแบบแผนการใช้บริการ และภาระค่าใช้จ่ายของครัวเรือนทั้งค่ารักษาพยาบาล ค่าเดินทาง ค่าที่พัก และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ของผู้เสียชีวิต โดยใช้แบบสอบถามเพิ่มเติมนอกเหนือจา ...
    • การสำรวจระบบควบคุมและเฝ้าระวังการใช้ยาปฏิชีวนะและการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผล : ผลการศึกษาเบื้องต้น 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; ภาณุมาศ ภูมาศ; ภูษิต ประคองสาย; Nithima Sumpradit; Saowalak Hunnangkul; Panumart Phumart; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการใช้ยาปฏิชีวนะ ระบบและกลไกการควบคุมและการเฝ้าระวังการใช้ยาปฏิชีวนะรวมทั้งมาตรการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิก และร้านยา ...
    • การเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย : การวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; Vijj Kasemsap; Yot teerawatananon; Thanom Supaporn; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การบริการทดแทนไต (renal replacement therapy-RRT) เป็นการรักษาพยาบาลที่มีความจำเป็นสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (ต่อไปนี้เรียกว่าผู้ป่วยฯ) ซึ่งในปัจจุบัน มีความไม่เท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการทดแทนไตระหว่างผู้ป่วยฯ ...
    • การเปลี่ยนแปลงภาวะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนจากการวิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจเพื่อติดตามภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน(โดยใช้ตัวอย่างซ้ำ) 2548-2553 

      วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; กัญจนา ติษยาธิคม; สุพล ลิมวัฒนานนท์; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-02)
      การสำรวจเพื่อติดตามภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนโดยใช้ตัวอย่างซ้ำ เป็นการติดตาม สัมภาษณ์ครัวเรือนเดิมจำนวนประมาณ 6 พันตัวอย่าง รวมทั้งสิ้น 4 รอบ (พ.ศ. 2548, 2549, 2550 และ 2553) ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจสามารถนำไปใช้วิเ ...
    • ความต้องการงบประมาณสำหรับการเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      วิชช์ เกษมทรัพย์; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณการความต้องการงบประมาณสำหรับการขยายการเข้าถึงบริทดแทนไตให้กับผู้มีสิทธิ์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งนี้เพื่อวิเคราะห์ภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นและความเป็นไปได้ของภาครัฐใ ...
    • ความเป็นธรรมของการใช้บริการสุขภาพ 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548-11)
      เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ช่องว่างทางเศรษฐกิจมีผลกระทบต่อความแตกต่างด้านสุขภาพระหว่างคนจนกับคนรวย ซึ่งเป็นไปตาม วัฏจักร “โง่-จน-เจ็บ” ถึงแม้ว่า ในยุคหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คนไทยเกือบทุกคนจะได้สิทธิประโยชน์ในการเข้าถ ...