• การจัดทำกลไกการบริหารจัดการและบริการแบบบูรณาการในพื้นที่เขตสุขภาพนำร่อง 

      รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง; Rapeesupa Wangcharoenrung; อนันตโชค โอแสงธรรมนนท์; Anantachoke Osangthammanont; ดาวุด ยูนุช; Dawud Unuch; ต้องการ จิตเลิศขจร; Tongkarn Jitlerdkajorn; สุทธิ สืบศิริวิริยะกุล; Sutthi Suebsiriviriyakul; ปนัสยา เทพโพธา; Panatsaya Thepphotha; ฉัตรวลี เมธาสถิตย์สุข; Chatwalee Maethastidsook; เศรษฐการ หงษ์ศิริ; Settakarn Hongsiri; วจิตรวดี พุกทอง; Jitwadee Puktong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การดำเนินการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ (1) เพื่อวิเคราะห์และจัดทำข้อเสนอมาตรการนำร่อง เพื่อสนับสนุนการทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาเขตสุขภาพนำร่อง (Regulatory Sandbox) รวมทั้งการกำหนดเกณฑ์/ตัวชี้วัดในการติดตามและประเมินผลการดำเนินการ ...
    • การทดลองใช้และประเมินผลตัวชี้วัดสำหรับงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาล 

      ภูรี อนันตโชติ; จิราภรณ์ อุษณกรกุล; เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; ทวีพงษ์ อารียโสภณ; สุธีรา เตชคุณวุฒิ; ชมภูนุช สุคนธวารี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ตัวชี้วัดจัดเป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาและการจัดระบบสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานขององค์กร ไม่ว่าจะเป็นระดับจุลภาคหรือในระดับมหภาค ซึ่งระบบสารสนเทศตัวชี้วัดดังกล่าวต้องมีความเป็ ...
    • การทบทวนตัวชี้วัดของระบบยานานาชาติและประเทศไทย 

      วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      การติดตามและประเมินผลเป็นองค์ประกอบที่มีความสำคัญของนโยบายแห่งชาติด้านยา การกำหนดตัวชี้วัดเพื่อประเมินผลงานมีประโยชน์ในการติดตามความก้าวหน้าตามเป้าหมาย ตัวชี้วัดที่ดีจะต้องมีความชัดเจน มีประโยชน์ วัดผลได้ น่าเชื่อถือ ...
    • การพัฒนาข้อเสนอตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับสถานพยาบาลและร้านยา 

      สุนทรี วัชรดำรงกุล; Suntaree Watcharadamrongkun; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; กิติยศ ยศสมบัติ; Kitiyot Yotsombut; ตุลาการ นาคพันธ์; Tulakarn Nakpun; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลถูกกำหนดเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในนโยบายแห่งชาติด้านยาตั้งแต่นโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรก ในปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้การใช้ยาอย่างสมเหตุผลและการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดความพึงพอใจต่อคุณภาพบริการผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชน 

      ภรวลัญ จุนทการบัณฑิต (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก, 2553-02)
      การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและตรวจสอบคุณภาพของตัวชี้วัดความพึงพอใจของผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชน ด้วยวิธีการวิจัยและพัฒนา ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้กระบวนการหาฉันทามติแบบพหุลักษณ์ ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดธรรมาธิบาลการบริหารจัดการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 

      วลัยภรณ์ อัตตะนันทน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษากรอบแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับธรรมาภิบาลของหน่วยบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับพื้นที่ จัดทำหรือสร้างตัวชี้วัดธรรมาภิบาลการบริหารจัดการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่สามารถใช้เป็นเครื่องมือ ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดธรรมาภิบาลการบริหารจัดการของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 

      วลัยภรณ์ อัตตะนันทน์; มานวิภา อินทรทัต; พิสิฐ ศุกรียพงศ์; อุ่นกัง แซ่ลิ้ม; พัชรนันท์ กลั่นแก้ว (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
      งานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาตัวชี้วัดธรรมาภิบาลการบริหารจัดการของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด” ซึ่งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้มอบให้ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทําการศึกษาวิจัยนั้นมีวัตถุประสงค ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดระบบสุขภาพในมุมมองของประชาชน 

      อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
    • การพัฒนาตัวชี้วัดหลักกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย 

      ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree; พนารัตน์ วิศวเทพนิมิตร; Panarat Wisawatapnimit; วิชาวี พลอยส่งศรี; Wichavee Ploysongsri; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์; Karnwarin Gongkulawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) ภายใต้มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2564-04)
      การศึกษานี้มีเป้าหมาย เพื่อพัฒนาข้อเสนอตัวชี้วัดหลักในเรื่องกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย โดยจะครอบคลุมถึงการจัดทำมาตรฐานข้อมูลและหน่วยงานที่เกี่ยวของในแต่ละตัวชี้วัดดังกล่าว และพัฒนาข้อเสนอความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบการ ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนของประเทศไทย 

      อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; เพชรลดา บริหาร; Phetlada Borriharn; นิภาพร เอื้อวัณณะโชติมา; Nipaporn Urwannachotima; วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนของประเทศไทย โดยมีรูปแบบการศึกษา 4 ขั้นตอน ดังนี้ (1) การทบทวนวรรณกรรมจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (Document ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; เพชรลดา บริหาร; Phetlada Borriharn; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; ไตรเทพ ฟองทอง; Traithep Fongthong; กิตติภัค เจ็งฮั้ว; Kittipak Jenghua; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk; อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ที่มาและความสำคัญ: ประเทศไทยมีการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์และการดำเนินการเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลมาอย่างต่อเนื่อง จากการมีนโยบายการพัฒนาสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ซึ่งประกาศใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา ...
    • การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์; Isareethaika Jayasvasti; ไตรเทพ ฟองทอง; Traithep Fongthong; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; ทอง บุญยศ; Thong Boonyot; ประเสริฐ อาปัจชิง; Prasert Apadsing (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบโครงสร้างฐานข้อมูลเพื่อใช้สำหรับตอบตัวชี้วัดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาสมเหตุผลในทุกระดับ มีการดำเนินการ 3 ส่วน ได้แก่ 1) ...
    • การพัฒนาระบบรายงานตัวชี้วัดสำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 

      ณปรัชญ์ วงษ์เกษม; Naprat Wongkasem; วิภาวี ธรรมาภรณ์พิลาศ; Wipawee Tharmmaphornphilas; หฤทัย โลหะศิริวัฒน์; Haruetai Lohasiriwat; ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-08)
      โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.) ได้รับการยกระดับจากสถานีอนามัยเพื่อเพิ่มศักยภาพการให้บริการด้านสุขภาพในระดับปฐมภูมิ ทั้งหน้าที่ในเชิงรุกและเชิงรับ จากการศึกษากระบวนการทำงานของรพ.สต.พบว่าปัญหาสำคัญในการทำงานของบุคลากร ...
    • การพัฒนาแนวทางการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของ สสส. โดยใช้ข้อมูลจากการศึกษาต้นทุนความเจ็บป่วย 

      มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ทิวารัตน์ วุฒิศรัย; พัทธรา ลีฬหวรงค์; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; ปรียานุช ดีบุกคำ; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; รุ่งนภา คำผาง; ทรงยศ พิลาสันต์; รักมณี บุตรชน; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2554)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของ สสส. ด้วยการวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ (Cost-benefit analysis) โดยการนำข้อมูลจากการวิเคราะห์ต้นทุนความเจ็บป่วยด้วย ...
    • การศึกษากระบวนการถ่ายทอดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักลงสู่การปฏิบัติใน 12 เขตสุขภาพ 

      จารุวรรณ ธาดาเดช; Charuwan Tadadej; สิริมา มงคลสัมฤทธิ์; Sirima Mongkolsamlit; ณัฐกมล ชาญสาธิตพร; Natkamol Chansatiporn; รณภูมิ สามัคคีคารมย์; Ronnapoom Samakeekarom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      แม้ว่าการวัดผลการดำเนินงานคือหัวใจของแนวคิดการพัฒนาเพื่อการจัดระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ และมาตรฐาน แต่หากขาดความรู้ใน“กระบวนการถ่ายทอด”ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อสำคัญระหว่างแผนยุทธศาสตร์กับการปฏิบัติงานประจำวันให้สอดรับตามเป ...
    • การศึกษาและพัฒนาตัวชี้วัดการมีพฤติกรรมเสี่ยงด้านเพศสัมพันธ์ในนักเรียนมัธยมปลายและอาชีวศึกษา จังหวัดนครราชสีมา 

      ธนะพงศ์ จินวงษ์; Dhahapong Chinwongse; เรืองชัย บุญยศักด์; นวลละออ วิวัฒน์วรพันธ์; รัตนา เอื้อวิทยาศุภร; พชรพร สุวิชาเชิดชู (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การศึกษาและพัฒนาตัวชี้วัดการมีพฤติกรรมเสี่ยงด้านเพศสัมพันธ์ในกลุ่มนักเรียนมัธยมปลายและอาชีวศึกษา จ. นครราชสีมา การศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการพัฒนารูปแบบในการหาตัวชี้วัด การมี พฤติกรรมเสี่ยงด้านเพศสัมพันธ์ใ ...
    • ดัชนีวัดสถานะสุขภาพ : จากอายุขัยเฉลี่ย จนถึง DALY 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08)
    • ดัชนีวัดสถานะสุขภาพ : อดีตถึงปัจจุบัน 

      พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์; อังสนา บุญธรรม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08)
    • ตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประเทศไทย 

      เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; ศิริขวัญ บริหาร; วีระศักดิ์ พุทธาศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การใช้ยาไม่สมเหตุผลเป็นปัญหาสำคัญของประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ยาเกินความจำเป็น การใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่คำนึงถึงเชื้อดื้อยา การใช้ยาราคาแพงนอกบัญชียาหลัก การใช้ยาที่มีความเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัย การใช้ยาโดยบุคลากรทางการแ ...
    • ตัวชี้วัดคุณภาพจากข้อมูลผู้ป่วยใน (Administrative data) กับคุณลักษณะของโรงพยาบาล 

      Jadej Thammatacharee; จเด็จ ธรรมธัชอารี; สาหร่าย เรืองเดช; Sarai Rueangdej (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษาวิจัยเรื่องตัวชี้วัดคุณภาพจากข้อมูลผู้ป่วยในกับคุณลักษณะของโรงพยาบาล เป็นการศึกษาถึงตัวชี้วัดทางคุณภาพของหน่วยบริการจากข้อมูลผู้ป่วยใน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบตัวชี้วัดซึ่งมีการใช้ในการประเมินคุณภาพของหน่วยบริ ...