Now showing items 1-4 of 4

    • การจัดทำแบบจำลองรายจ่ายสุขภาพ 

      ดาว มงคลสมัย; Dow Mongkolsmai; สมชาย สุขสิริเสรีกุล; เพลินพิศ สัตย์สงวน; ประภัสสร เลียวไพโรจน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การจัดทำแบบจำลองรายจ่ายสุขภาพรายงานฉบับนี้เป็นการทบทวนงานวิจัยและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับรายจ่ายสุขภาพ และการสร้างแบบจำลองรายจ่ายสุขภาพของไทย จากการทบทวนงานวิจัยต่างๆ สามารถแบ่งกลุ่มงานที่ศึกษาเรื่องรายจ่ายด้านสุขภาพออกเป็น ...
    • การลดความยากจนจากรายจ่ายด้านสุขภาพ : ผลลัพธ์ของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsait (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-03)
      วัตถุประสงค์ที่สำคัญของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยนอกจากเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นของประชากรแล้ว การลดความเสี่ยงของครัวเรือนจากภาระค่าใช้จ่ายเมื่อเจ็บป่วยเป็นเป้าหมายที่สำคัญอีกประการหนึ่ง ...
    • การวัดภาวะวิกฤตการเงินด้านสุขภาพ จากผลกระทบต่อความยากจน 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; อรรถกฤต เล็กศิวิไล; Attakrit Leckcivilize (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      งานวิจัยเกี่ยวกับภาวะวิกฤตทางการเงินด้านสุขภาพหลายชิ้นในระยะหลังใช้สัดส่วนรายจ่ายด้านสุขภาพต่อรายรับหรือรายจ่ายรวมของครัวเรือนเป็นตัวชี้วัดภาวะวิกฤตการเงินด้านสุขภาพของครัวเรือนซึ่งบางครั้งได้ผลลัพธ์ที่ขัดกับสามัญสำนึก ...
    • การสำรวจการเข้าถึงสถานพยาบาลและรายจ่ายด้านสุขภาพของผู้ป่วยที่เสียชีวิต พ.ศ. 2548-2549 

      ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท; อรศรี ฮินท่าไม้; อาทิตยา เทียมไพรวัลย์; Viroj Tangcharoensathien; Phusit Prakongsai; Chitpranee Vasavid; Onsri Hinthamai; Artitaya Tiampriwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การสำรวจครั้งนี้เป็นการศึกษาการเข้าถึงบริการสาธารณสุข อัตราและแบบแผนการใช้บริการ และภาระค่าใช้จ่ายของครัวเรือนทั้งค่ารักษาพยาบาล ค่าเดินทาง ค่าที่พัก และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ของผู้เสียชีวิต โดยใช้แบบสอบถามเพิ่มเติมนอกเหนือจา ...