Now showing items 1-7 of 7

    • การประเมินผลคุณภาพการดูแลและผลลัพธ์ของผู้ป่วยโรคหืดที่เป็นผู้ใหญ่ในประเทศไทย 

      ปรียานุช ศิริมัย; Priyanut Sirimai; โรงพยาบาลประจวบคิรีขันธ์; Prachuap Khin Khan Hospital (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการสร้างเครื่องมือเพื่อประเมินคุณภาพการดูแลรวมทั้งผลลัพธ์ในผู้ป่วยโรคหืดที่เป็นผู้ใหญ่ โดยทำการวิจจัยเป็น 3 ช่วง ช่วงที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อหาภาระโรคตลอดจนปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการดูแ ...
    • การรักษาผู้ป่วยโรคหืดที่คลินิกโรคหืด โรงพยาบาลกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ 

      อดุลย์ โบจรัส; Adun Bojarus; เกษศิรินทร์ โพธิ์ทิพย์; Ketsirin Potip; หัสยาภรณ์ ทองเสี่ยน; Husayaporn Tongsian; พรรัตน์ โพธิ์ศรี; Pornrat Posri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      บทความนี้เป็นรายงานผลการรักษาผู้ป่วยโรคหืดที่โรงพยาบาลกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งใช้แนวการรักษาตามมาตรฐานจิน่า 2549 เก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วยโดยการสัมภาษณ์ และวัดอัตราการไหลอากาศหายใจออกสูงสุด (peak expiratory flow rate, ...
    • ต้นทุนโรคหืดของโรงพยาบาลพรานกระต่าย 

      บัลลังก์ อุปพงษ์; Ballang Uppapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      โรคหืดถูกจัดอยู่ในกลุ่มภาวะไวการรักษาแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory care sensitive condition; ACSC) คือหากมีการดูแลรักษาแบบผู้ป่วยนอกอย่างมีประสิทธิภาพจะสามารถหลีกเลี่ยงการเข้ารับรักษาตัวในโรงพยาบาลได้ การที่ผู้ป่วยโรคหืดต้อง ...
    • ประสิทธิผลของการดูแลรักษาผู้ป่วยจากคลินิกโรคหืด โรงพยาบาลบางปะอิน 

      เลิศชัย จิตต์เสรี; Lerdchai Jitsaree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      โรคหืดเป็นโรคระบบการหายใจที่มีหลอดลมอักเสบเรื้อรัง รายที่มีอาการรุนแรงอาจเสียชีวิตได้ โรงพยาบาลบางปะอินได้จัดตั้งคลินิกโรคหืดขึ้น โดยทีมสหวิชาชีพ ซึ่งให้การวินิจฉัยและรักษาตามแนวปฏิบัติของสมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทย ...
    • ประสิทธิผลของคลินิกโรคหืด โรงพยาบาลด่านช้าง 

      ละเอียด นาคใหม่; La-iad Nagmai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      โรคหืดมีอุบัติการณ์สูงขึ้นมากในปัจจุบัน บั่นทอนสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย บางรายอาจมีอาการนานๆครั้ง บางรายเป็นบ่อยมาก ทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถทำงานได้ตามปรกติ และอาจทำให้เสียชีวิตได้ โรงพยาบาลด่านช้างได้จัดตั้งคลินิกโรค ...
    • ผลลัพธ์ของการดูแลผู้ป่วยโรคหืดที่ควบคุมอาการไม่ได้ด้วยยา Salmeterol/Fluticasone และ Budesonide ในโรงพยาบาลชุมชน 

      นิพนธ์ ฐิติญาณวิโรจน์; Nipon Thitiyanwiroj; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; วัชรา บุญสวัสดิ์; Watchara Boonsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของการใช้ยา salmeterol/fluticasone (SFC) และ budesonide ในการควบคุมโรคหืดในสถานการณ์จริงในโรงพยาบาลชุมชน ทำการศึกษาแบบ retrospective cohort study โดยเก็บข้อมูลจากฐานข้อมูล Easy ...
    • แนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากรในประเทศไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      โรคหืดเป็นโรคที่มีอุบัติการณ์ ความชุกและภาระโรคสูงในประเทศไทย ในปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากรในประเทศไทยที่ชัดเจน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนแนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากร โดยแบ่งการดำเนินงานเป็น ...