แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การศึกษาผลกระทบต่อการจัดบริการสุขภาพและกำลังขวัญของพยาบาลวิชาชีพและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

dc.contributor.authorสุวรรณี เนตรศรีทองth_TH
dc.contributor.authorSuwanee Natesrithongen_US
dc.contributor.authorปฐมามาศ โชติบัณth_TH
dc.contributor.authorPhathomat Chotibanen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:18:29Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:43:44Z
dc.date.available2008-12-04T05:18:29Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:43:44Z
dc.date.issued2547en_US
dc.identifier.otherhs1261en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1278en_US
dc.descriptionการศึกษาฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการศึกษาวิจัย เรื่องการจัดการระบบบริการสุขภาพ ในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อศึกษาผลกระทบต่อการจัดบริการสุขภาพและการหาแนวทางในการแก้ปัญหาการจัดบริการสุขภาพในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน 26 แห่ง และสถานีอนามัย 323 แห่ง วัตถุประสงค์เฉพาะ 1. เพื่อศึกษาผลกระทบในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อการจัดบริการสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 3. เพื่อวัดกำลังขวัญในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จากการศึกษาจะเห็นได้ว่าผลกระทบที่เกิดขึ้นจากภาวะวิกฤต 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ส่งผล กระทบต่อทั้งผู้ให้บริการสุขภาพและผู้รับบริการรวมทั้งระบบบริการทั้งระดับโรงพยาบาลชุมชนและสถานีอนามัย เพื่อให้ระบบบริการสุขภาพสามารถดําเนินต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพในภาวะวิกฤต ขณะนี้ควรมีการปรับเปลี่ยนวิธีการดําเนินงานให้เอื้อต่อสถานการณ์ปัจจุบันและเกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งคํานึงถึงความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่เป็นสําคัญ โดยเฉพาะงานด้านส่งเสริมสุขภาพซึ่งจะเป็นการดําเนินงานแบบตั้งรับในสถานบริการมากกว่า อาจเป็นสาเหตุให้ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งการดูแล ป้องกัน รักษาโรคของประชาชนอย่างต่อเนื่องอาจทําได้ไม่ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้ควรมีการศึกษาหาวิธีการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมและสอดคล้องกับภาวะวิกฤตในปัจจุบัน เพื่อภาวะสุขภาพที่ดีของประชาชนและเพิ่มศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในพื้นที่ต่อไป และขอให้มีนโยบายในการสร้างขวัญและกําลังใจให้แก่เจ้าหน้าที่อย่างชัดเจนและต่อเนื่องเพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานในพื้นที่th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขภาคใต้en_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Service Systemsen_US
dc.subjectHealth Serviecsen_US
dc.subjectHealth Personnelen_US
dc.subjectระบบบริการสุขภาพen_US
dc.subjectอนามัย, บริการen_US
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุขen_US
dc.subjectการบริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการศึกษาผลกระทบต่อการจัดบริการสุขภาพและกำลังขวัญของพยาบาลวิชาชีพและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeHealthcare system during violent crisis in the three southern border provinces, Thailanden_US
dc.identifier.callnoWA754 ส875ก 2547en_US
dc.identifier.contactno47ค039en_US
dc.subject.keywordบริการสุขภาพen_US
dc.subject.keywordพยาบาลวิชาชีพen_US
dc.subject.keywordเจ้าหน้าที่สาธารณสุขen_US
.custom.citationสุวรรณี เนตรศรีทอง, Suwanee Natesrithong, ปฐมามาศ โชติบัณ and Phathomat Chotiban. "การศึกษาผลกระทบต่อการจัดบริการสุขภาพและกำลังขวัญของพยาบาลวิชาชีพและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1278">http://hdl.handle.net/11228/1278</a>.
.custom.total_download64
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year3
.custom.downloaded_fiscal_year7

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1261.pdf
ขนาด: 456.9Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย