แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การแก้ไขปัญหาภาะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลศรีรัตนะโดยชุมชนมีส่วนร่วม

dc.contributor.authorทิพวัน ไชยะเดชะth_TH
dc.contributor.authorTipavan Chiydechaen_US
dc.contributor.authorปรัชญาณี คำเหลือth_TH
dc.contributor.authorสมัย คำเหลือth_TH
dc.contributor.authorPratyanee Kamheuaen_US
dc.contributor.authorSamai Kamheauen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:19:09Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:43:28Z
dc.date.available2008-12-04T05:19:09Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:43:28Z
dc.date.issued2546en_US
dc.identifier.otherhs1022en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1373en_US
dc.description.abstractการศึกษาการแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลศรีรัตนะโดยชุมชนมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพื่อลดอัตราภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ที่อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลศรีรัตนะ โดยวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการ (operational research) ใช้กระบวนการกลุ่มแบบมีส่วนร่วม เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม เครื่องชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง แบบบันทึกการฝากครรภ์ (รบ 1ต 05) แบบบันทึกการดำเนินการกระบวนการกลุ่ม (group process) และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ ปริมาตรอัดแน่นเม็ดเลือดแดง การตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย (DCIP-KKU-Clear test, Osmotic Fragility test; OF) ใช้สื่อในการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขภาวะโลหิตจาง และประเด็นคำถามในการสนทนากลุ่ม (group discussion) โดยศึกษาในหญิงตั้งครรภ์ทุกรายที่อาศัยอยู่ประจำในหมู่บ้านเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลศรีรัตนะ จำนวน 8 หมู่บ้าน ระหว่างเดือน พฤศจิกายน 2543 ถึง เดือน ตุลาคม 2544 ผลการศึกษา พบว่า การใช้กระบวนการกลุ่มแบบมีส่วนร่วมในการรับรู้ภาวะขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ และร่วมกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกันของกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ มีผลต่อความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการปฏิบัติตนที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมีการดำเนินกิจกรรมโครงการเพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาเพื่อเพิ่มแหล่งอาหารที่มีธาตุเหล็ก เผยแพร่ความรู้เรื่องภาวะโลหิตจาง และกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ รวม 11 โครงการ ซึ่งผลการดำเนินกิจกรรมดังกล่าว พบว่า อัตราการมาฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์เป็นร้อยละ 41.2 และอัตราการกินยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์สม่ำเสมอเป็นร้อยละ 76.5 ซึ่งสอดคล้องกับค่าเฉลี่ยปริมาตรอัดแน่นเม็ดเลือดแดงของหญิงตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นจาก 33.3% (95%CI: 32.3-34.4%) ในการมาฝากครรภ์ครั้งแรก เป็น 36.8% (95%CI: 35.9-37.6%) เมื่ออายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์ และอัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ลดลง จากร้อยละ 36.8 เป็นร้อยละ 16.7 ผลการศึกษาสรุปว่า การใช้กระบวนการกลุ่มอย่างมีส่วนร่วมในการรับรู้ต่อภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์จะช่วยแก้ไขปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ และก่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาร่วมกันระหว่างสถานบริการสุขภาพและชุมชนth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent302433 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectAnemiaen_US
dc.subjectสตรีมีครรภ์en_US
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการแก้ไขปัญหาภาะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลศรีรัตนะโดยชุมชนมีส่วนร่วมth_TH
dc.title.alternativeSolving anemia in pregnancy living in the catchment area of Sriratana hospital through community participationen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of the study on solving anemia in pregnancy living in Sriratana hospital’s catchment area is to decrease iron deficiency anemia in pregnancy through operational research using participatory group process. Data were collected by means of questionnaires, weight and height scales, antenatal care record, record of group process and laboratory investigation including packed cell volume (hematocrit) and screening for thalassemia (DCIP-KKU clear test, Osmotic Fragility test). Various medias were used for disseminating basic knowledge, control and prevention of anemia and related issues in group discussion. All pregnant women living in villages in the catchment area were participated during November 2000 to October 2001. The results showed that using participatory group process to perceive iron deficiency in pregnancy and to formulate solutions has an effect on correcting knowledge, attitude, and behavior to prevent and control iron deficiency anemia statistically significant. In addition, 11 programs had been generated to make other iron food sources available, to disseminate knowledge of iron deficiency anemia and motivate pregnant women attending antenatal care service at first trimester. The outcome of intervening programs indicated that 41.2 % of pregnant women attended first ANC at pregnancy age less than 12 weeks. And, 76.5% took iron tablets regularly according to the prescription. These findings consistent with the increasing of mean packed cell volume from 33.3% (95%CI: 32.3-34.4%) at first attending ANC to 36.8% (95%CI: 35.9-37.6%) at pregnancy age 28-32 weeks. Anemia in pregnancy also decreased from 36.8% to 16.7%. It is concluded that participatory group process in perception of anemia in pregnancy will decrease anemia in pregnancy and results in cooperating between health facility and community.en_US
dc.identifier.callnoWQ252 ท479ก 2546en_US
dc.identifier.contactno44ค010en_US
dc.subject.keywordPregnancy Womenen_US
dc.subject.keywordโลหิตจางen_US
dc.subject.keywordเลือดจางen_US
.custom.citationทิพวัน ไชยะเดชะ, Tipavan Chiydecha, ปรัชญาณี คำเหลือ, สมัย คำเหลือ, Pratyanee Kamheua and Samai Kamheau. "การแก้ไขปัญหาภาะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลศรีรัตนะโดยชุมชนมีส่วนร่วม." 2546. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1373">http://hdl.handle.net/11228/1373</a>.
.custom.total_download330
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year10

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1022.pdf
ขนาด: 651.1Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย