แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

เป้าหมายและแนวทางในการจัดทำระบบบริการสารสนเทศด้านสาธารณสุขสำหรับประชาชนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

dc.contributor.authorสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยth_TH
dc.contributor.authorThailand Develoment Research Instituteen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:19:11Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:42:57Z
dc.date.available2008-12-04T05:19:11Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:42:57Z
dc.date.issued2543en_US
dc.identifier.otherhs0840en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1380en_US
dc.description.abstractบริการสารสนเทศด้านสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานและมีประสิทธิภาพผ่านโครงสร้างพื้นฐานทางสารสนเทศ (information infrastructure) เป็นบริการที่ประชาชนพึงได้รับอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมตามนัยแห่งรัฐธรรมนูญปัจจุบัน โครงสร้างพื้นฐานทางสารสนเทศที่สามารถเป็นทางเลือกในการให้บริการสารสนเทศด้านสาธารณสุขประกอบไปด้วยเครือข่ายโทรศัพท์ เครือข่ายเคเบิลทีวี และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต คณะผู้วิจัยได้พิจารณาทางเลือกในการให้บริการสารสนเทศด้านสาธารณสุขแก่ประชาชนด้วยเทคโนโลยีโทรศัพท์และอินเทอร์เน็ตใน 4 ทางเลือกด้วยกัน คือ การให้บริการสารสนเทศผ่านเว็บไซต์ (สื่อสารทางเดียวผ่านอินเทอร์เน็ต) การให้คำปรึกษาผ่านเว็บบอร์ด (สื่อสารแบบโต้ตอบผ่านอินเทอร์เน็ต) การให้บริการสารสนเทศผ่านออดิโอเท็กซ์ (สื่อสารทางเดียวผ่านโทรศัพท์) และการให้คำปรึกษาผ่านทางโทรศัพท์ (สื่อสารแบบโต้ตอบผ่านโทรศัพท์) โดยกลุ่มเป้าหมายของบริการสารสนเทศผ่านเว็บไซต์และเว็บบอร์ดในช่วงเริ่มต้น คือ กลุ่มวัยรุ่นและคนหนุ่มสาว สื่อมวลชน ประชาชนในวัยทำงาน แพทย์และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ส่วนกลุ่มเป้าหมายในการให้บริการสารสนเทศผ่านออดิโอเท็กซ์และโทรศัพท์คือประชากรส่วนใหญ่ในประเทศ จากการศึกษาพบว่าต้นทุนต่อหน่วยในการให้บริการสารสนเทศแก่ประชาชนในทั้ง 4 แนวทางในปี 2005 ตามลำดับจากน้อยไปหามากคือ บริการสารสนเทศผ่านเว็บไซต์ การให้บริการผ่านออดิโอเท็กซ์ การให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพทางโทรศัพท์ และการให้คำปรึกษาสุขภาพผ่านทางเว็บบอร์ด โดยความแตกต่างของต้นทุนขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ประการ คือ จำนวนครั้งของบริการ ความจำเป็นในการใช้บุคลากรในการให้บริการ และต้นทุนในการอุดหนุนให้เกิดบริการที่เท่าเทียมระหว่างผู้ใช้กลุ่มต่างๆ ก่อนการเริ่มการให้บริการอย่างเต็มที่ กระทรวงสาธารณสุขควรประเมินผลการให้บริการในปัจจุบันแต่ละบริการว่าก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนมากน้อยเพียงไร สามารถให้บริการได้ตรงตามกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ และประสบปัญหาในการให้บริการอย่างไร ในด้านการจัดองค์กรเพื่อการให้บริการ กระทรวงสาธารณสุขควรมีบทบาทนำในการดำเนินการให้บริการหรือส่งเสริมให้มีการให้บริการโดยมี 3 แนวทาง คือ การให้บริการโดยตรงโดยหน่วยงานในสังกัด การให้การสนับสนุนกลุ่มประชาสังคมในการให้บริการ การสร้างความร่วมมือกับธุรกิจเอกชน และสื่อมวลชน ตลอดจนการพัฒนาเครือข่ายในลักษณะที่คล้ายคลึงกับเครือข่ายสุขภาพของแคนาดา (Canadian Health Network) โดยปรับใช้ให้เหมาะกับสภาพในประเทศไทยth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1530543 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectInformation serviceen_US
dc.subjectInformation Technologyen_US
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศen_US
dc.subjectสาธารณสุข -- บริการสารสนเทศen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleเป้าหมายและแนวทางในการจัดทำระบบบริการสารสนเทศด้านสาธารณสุขสำหรับประชาชนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศth_TH
dc.title.alternativeGoal and Guideline for Developing Information Technology System for Publicen_US
dc.description.abstractalternativeAccording to the present constitution, the standardized and efficient health information service through information structure is the one required for the public equally. The information infrastructure that is an alternative for providing public health information consists of three network; telephone, cable TV, and internet.The research team considered four alternatives in providing health information to the public using telecommunication technology and the internet. The four alternatives were: Information service via Web site (one-way communication via internet), Consultation service via Web board (two-way communication via internet), Information service via audiotex (one-way communication via telephone), and Consultation service via audiotex (two-way communication via telephone). The target group of the first two alternatives was teenagers, media, working people, doctors and public health officers whereas that of the last two alternatives was major population of the country.The study showed that the unit cost of the four alternatives in the year 2005, ranging from the least to the most, was Information service via Web site, Information service via audiotex, Consultation service via telephone, and Consultation service via Web board. The difference in cost depended on three factors: frequency of using services, the necessity of using staff to provide information, and the cost of supporting equal information to all target groups.Before providing services to a full scale, it is recommended that the Ministry of Public Health (MoPH) evaluate the outcomes of each service provided at present as to how beneficial it is to the public, whether the service is provided right to the target group, and what the problems/obstacles are. The MoPH should also play an important role in carrying out or promoting the services using three guidelines: providing direct services by the responsible unit, supporting the community in providing services, collaborating with private sectors and media, as well as developing network similar to Canadian Health Network and apply it to best suit the Thai situation.en_US
dc.identifier.callnoW26.5 ส181ป 2543en_US
dc.identifier.contactno42ค019en_US
.custom.citationสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย and Thailand Develoment Research Institute. "เป้าหมายและแนวทางในการจัดทำระบบบริการสารสนเทศด้านสาธารณสุขสำหรับประชาชนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1380">http://hdl.handle.net/11228/1380</a>.
.custom.total_download190
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0840.pdf
ขนาด: 890.2Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย