แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ระบบบริการสุขภาพในภาวะฉุกเฉินในประเทศพัฒนา

dc.contributor.authorอดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์th_TH
dc.contributor.authorAdisak Plitponkarnpimen_US
dc.contributor.authorกิ่งแก้ว อุดมชัยกุลth_TH
dc.contributor.authorจิราวรรณ กล่อมเมฆth_TH
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:19:31Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:24:30Z
dc.date.available2008-12-04T05:19:31Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:24:30Z
dc.date.issued2544en_US
dc.identifier.otherhs0839en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1429en_US
dc.description.abstractระบบบริการสุขภาพในภาวะฉุกเฉินในประเทศที่พัฒนาแล้ว มักมีจุดเริ่มต้นจากความพยายามที่ต้องการลดการสูญเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ โดยเฉพาะในกลุ่มวัยทำงาน จากนั้นการพัฒนาได้ขยายการครอบคลุมไปจนถึงการเจ็บป่วยอื่นๆ ที่อยู่ภาวะฉุกเฉิน เช่น โรคหัวใจ แล้วที่สุดระบบบริการดังกล่าวถูกจัดให้เป็นองค์ประกอบหนึ่งของโครงข่ายความปลอดภัย โดยปรกติการให้บริการฉุกเฉินต้องสามารถให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง และใครก็ได้ที่เกี่ยวข้องในเหตุการณ์หรือประสบเห็นเหตุการณ์สามารถแจ้งไปยังศูนย์รับเรื่อง การศึกษานี้เป็นการทบทวนระบบบริการฉุกเฉินในประเทศอเมริกา ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย และสวีเดน ระบบของประเทศทั้งสี่มีศูนย์รับเรื่องและทีมบริการเคลื่อนที่ ทีมบริการที่มีแพทย์จะเป็นระบบในประเทศฝรั่งเศสและสวีเดน ขณะที่ในอเมริกาและออสเตรเลียเป็นบุคลากรที่ได้รับการอบรมขั้นสูง ในห้องฉุกเฉินที่โรงพยาบาลอเมริกา ออสเตรเลีย และสวีเดนจะมีแพทย์เฉพาะทางในด้านการให้บริการฉุกเฉิน ทั้งสี่ประเทศมีกฎหมายรองรับที่ต้องมีระบบนี้ และเป็นสิทธิ์ของประชาชนทุกคนที่สามารถเข้าถึงบริการนี้ และทีมให้บริการฉุกเฉินได้รับการรับรองจากกฎหมาย ส่วนการคุ้มครองงานบริการฉุกเฉินในประเทศอเมริกาประชาชนจะได้รับการคุ้มครองจาก Medicaid Medicare ประกันเอกชน หรือซื้อประกันต่างหากสำหรับงานบริการนี้โดยเฉพาะ ขณะที่ในประเทศฝรั่งเศส ออสเตรเลียและสวีเดน การคุ้มครองจะได้รับการสนับสนุนด้านการเงินจากรัฐบาลท้องถิ่น และระบบประกันสุขภาพของประเทศ การพัฒนาระบบดังกล่าวในประเทศไทยควรเริ่มจากการพัฒนาระบบการรับเรื่องและการรายงาน หน่วยบริการเคลื่อนที่ งานบริการในห้องฉุกเฉิน และระบบส่งต่อผู้ป่วย การผนวกรวมระบบนี้เข้ากับระบบบริการสุขภาพทั่วไปมีความจำเป็นเพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ การให้ประชาชนมีส่วนร่วมก็มีความจำเป็น ประเด็นที่สำคัญเพื่อการสนับสนุนระบบ ได้แก่ กฎหมาย เงินสนับสนุน การพัฒนาบุคลากร และงานวิจัย ส่วนกรอบพื้นฐานการพัฒนาระบบ คือ ความทัดเทียมกันในการเข้าบริการต้องทำให้เกิดเป็นรูปธรรมอย่างแท้จริงth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent651313 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectEmergency Medical Service -- Developing Countryen_US
dc.subjectEmergency Medical Service -- United Stateen_US
dc.subjectEmergency Medical Service -- Franceen_US
dc.subjectEmergency Medical Service -- Australiaen_US
dc.subjectEmergency Medical Service -- Swedenen_US
dc.subjectระบบบริการฉุกเฉิน -- ประเทศฝรั่งเศสen_US
dc.subjectระบบบริการฉุกเฉิน -- ประเทศกำลังพัฒนาen_US
dc.subjectระบบบริการฉุกเฉิน -- สหรัฐอเมริกาen_US
dc.subjectระบบบริการฉุกเฉิน -- ออสเตรเลียen_US
dc.subjectระบบบริการฉุกเฉิน -- สวีเดนen_US
dc.subjectระบบบริการสุขภาพen_US
dc.subjectการบริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleระบบบริการสุขภาพในภาวะฉุกเฉินในประเทศพัฒนาth_TH
dc.title.alternativeHealth service system for emergency conditions in developed countriesen_US
dc.description.abstractalternativeHealth Service System for Emergency Conditions in Developed countries Health service system for emergency conditions in developed countries was originally built in attempt to reduce life lost from road accident. Early response to injuries was a principle of reducing death and injuries especially in working group. Later, the system was extended to cover other injuries especially heart disease and considered as social safety net. To quicken the service provision, mobile service was made possible to reach the situation area and available for 24 hours. The system could be activitated by anyone either involving or seeing the scene. The study was carried out by reviewing the systems of the US, France, Australia and Sweden. The system of the US, Australia and Sweden had central call centres and mobile emergency team some of which had physicians for example the French and the Swedish while the US and the Australian had advanced emergency staff. The US, the Australian and the Swedish had doctors who had specialty in emergency care The provision system, patients’ right to emergency care and emergency team were legislated in all studied systems. Medicare, Medicaid, private insurance and special service contracts covered emergency care in the US. In France, Australia and Sweden, local government budget and national health insurance supported the emergency care. The development of the emergency system in Thailand should focus on the system of call centres and its reporting, mobile service, emergency room and referral system. Integrating the system into the health care system should be done for efficient use of resources. Community participation in all process should be strengthened. Legislation, budgeting, personnel development and research were important issues to support the system. Equity principle should be considered and put into practice.en_US
dc.identifier.callnoWA275 อ129ร 2544en_US
dc.identifier.contactno43ค050en_US
dc.subject.keywordบริการสุขภาพen_US
.custom.citationอดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์, Adisak Plitponkarnpim, กิ่งแก้ว อุดมชัยกุล and จิราวรรณ กล่อมเมฆ. "ระบบบริการสุขภาพในภาวะฉุกเฉินในประเทศพัฒนา." 2544. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1429">http://hdl.handle.net/11228/1429</a>.
.custom.total_download360
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year6
.custom.downloaded_fiscal_year11

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0839.pdf
ขนาด: 461.3Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย