Show simple item record

The 1992 private hospital census in Thailand

dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรen_US
dc.contributor.authorViroj Tangcharoensathienen_US
dc.contributor.authorสุกัลยา คงสวัสดิ์en_US
dc.contributor.authorนวลอนันต์ ตันติเกตุen_US
dc.contributor.authorศศิเพ็ญ โมไนยกูลen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:01Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:49:50Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:01Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:49:50Z
dc.date.issued2540en_US
dc.identifier.otherhs0017en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1502en_US
dc.description.abstractการสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ปีพศ.2535 การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ได้ใช้กรอบตัวอย่างโรงพยาบาลและสถานพยาบาลที่มีเตียงจำนวนทั้งสิ้น 320 แห่ง จากกองการประกอบโรคศิลปะในช่วงต้นปีงบประมาณ พศ. 2535 โดยทอดแบบสอบถามไปยังโรงพยาบาลเอกชนทั่วประเทศ กองการประกอบโรคศิลปะรับผิดชอบแจกแบบสอบถามและติดตามในกรุงเทพฯ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเป็นผู้รับผิดชอบส่งและติดตามแบบสอบถามในส่วนภูมิภาคโดยประสานงานกับกองการประกอบโรคศิลปะ เริ่มทอดแบบสอบถามเดือนตุลาคม 2535 ซึ่งเป็นเวลาที่โรงพยาบาลและสถานพยาบาลเอกชนต้องต่อใบอนุญาตสถานพยาบาลพอดีใช้เวลาติดตามแบบสอบถามประมาณ 1 ปีเต็ม เมื่อแบ่งโรงพยาบาลและสถานพยาบาลเอกชนออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ รพ.ประเภท 1 หมายถึงโรงพยาบาลเอกชนในรูปของบริษัทจำกัด รพ.ประเภท 2 หมายถึงโรงพยาบาลเอกชนที่จดทะเบียนเป็นมูลนิธิ รพ.ประเภท 3 หมายถึงโรงพยาบาลเอกชนที่จดทะเบียนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รพ.ประเภท 4 หมายถึงโรงพยาบาลขนาดเล็กที่มีเตียง ได้แก่ คลินิก และโพลีคลินิก จากโรงพยาบาลและสถานพยาบาลเอกชนจำนวนทั้งสิ้น 320 แห่ง ได้รับแบบสอบถามตอบกลับร้อยละ 69 อัตราตอบกลับมากที่สุดคือ รพ.ประเภท 2 ร้อยละ 85 รองมาคือ รพ.ประเภท 3, รพ.ประเภท 1 และรพ.ประเภท 4 คือ ร้อยละ 75, 72 และ 58 ตามลำดับ โดยรพ.ประเภท 4 ในกรุงเทพฯ มีร้อยละการตอบกลับแบบสอบถาม (ร้อยละ 50) ต่ำกว่าภูมิภาค (ร้อยละ 80) จากฐานข้อมูลของกองการประกอบโรคศิลปะพบว่าในปี พศ.2535 โรงพยาบาลเอกชนทั่วประเทศ 335 แห่ง มีเตียงทั้งสิ้นจำนวน 21,297 เตียง ในกรุงเทพฯ 118 แห่ง มีจำนวนเตียง 11,128 เตียง ส่วนภูมิภาค 217 แห่ง มีจำนวนเตียง 10,169 เตียง จากแบบสอบถามพบว่า ค่าเฉลี่ยจำนวนเตียงของโรงพยาบาลและสถานพยาบาลเอกชนทั่วประเทศมีค่าเป็น 69 เตียงต่อแห่ง สูงกว่าค่าเฉลี่ยของจำนวนเตียงจากรายงานของกองการประกอบโรคศิลปะจำนวน 320 แห่ง คือ 59 เตียง เนื่องจากแบบสอบถามที่ตอบกลับขาดโรงพยาบาลที่มีขนาดเล็กจำนวนมากทำให้ค่าเฉลี่ยสูงกว่าปกติในการนำข้อมูลไปใช้ต้องคำนึงถึงลักษณะการตอบกลับของแบบสอบถามด้วย การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนครั้งนี้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์มากต่อการวางแผนวิเคราะห์นโยบายในด้านภาคเอกชน ผู้วิจัยตั้งใจจะทำการสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนอีกครั้งหนึ่งในเดือนมกราคม 2539 เพื่อเก็บข้อมูลในปี 2536-2538 ซึ่งจะได้ข้อมูลต่อเนื่อง 6 ปีen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1538927 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ปี พ.ศ.2535en_US
dc.title.alternativeThe 1992 private hospital census in Thailanden_US
dc.description.abstractalternativeThe 1992 private hospital census in ThailandApart from MOPH Medical License Division (MLD) data on number of hospitals and beds by province, there is a severe lack of information on types of beds, manpower mix (both part time and full time), throughput (curative and preventive services), rates of room and board, exemption policy and volume of exemption by private hospitals. Moreover, pattern and behaviour of private hospitals under various types of ownership (for profit companies, individual owned, for profit companies registered in stock exchange merket, not for profit foundation run hospital) has not yet been explored. The 1992 private hospital census aims to assess number and type of beds and trends during 1990-92; category of medical staff both part time and full time and trends during 1990-92; throughput and trends during 1990-92; hospital exemption policy and volum of exemption; ownership of certain major equipments. We use the census frame of the total 320 hospitals registered with the MLD in 1992. Mail questionnaires were distributed to hospitals in Bangkok through MLD, hospitals outside Bangkok were distributed through Provincial Health Offices. Hospitals were required on a voluntary basis to response the questionnaire. Follow up work consumed 12 months during October 1993-94. There were 222 hospitals responded, 69 percent response rate. Interactive validation and assessment of data quality by researchers and the hospitals was made to improve reliability of data. Results are presented in six sectionsa)Beds, typed of bed, geographical distribution and three yaer trend b)Manpower by categories and three year trend. [Note : full time staff works more than 40 hours per week, and part time staff works less than 40 hours] c)Throughput (curative and preventive services) and three year trens d)Ratio analysis e)Room rate f)Exemption policy and volume of exemption. Hospitals are classified by researchers into four categories ; Type I : corporate, company limited of owned and run by an individual. Type II : owned and run by not-for-profit Foundation. Type III : public company registered in the Thai Stock Exchange Market. Type IV : small hospitals called oneself as clinic, polyclinic. The overall response rate in 69 percent (Type II 85 percent, Type III 75 percent, Type I 72 percent and Type IV 58 percent respectively)en_US
dc.identifier.callnoWX27 ว237ส 2540en_US
dc.subject.keywordสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนen_US
dc.subject.keywordโรงพยาบาลเอกชนen_US
.custom.citationวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร, Viroj Tangcharoensathien, สุกัลยา คงสวัสดิ์, นวลอนันต์ ตันติเกตุ and ศศิเพ็ญ โมไนยกูล. "การสำมะโนโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ปี พ.ศ.2535." 2540. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1502">http://hdl.handle.net/11228/1502</a>.
.custom.total_download32
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs0017.pdf
Size: 1.507Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record