แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การแทนยาฉีดด้วยยารับประทานในผู้ป่วยที่นอนรักษาในโรงพยาบาล

dc.contributor.authorรุ่งทิวา หมื่นปาth_TH
dc.contributor.authorRungtiwa Hmuenphaen_US
dc.contributor.authorจุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์th_TH
dc.contributor.authorสุพล ลิมวัฒนานนท์th_TH
dc.contributor.authorพรรณพิศ สุวรรณกูลth_TH
dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรth_TH
dc.contributor.authorChulaporn Limwattananonen_US
dc.contributor.authorSuphon Limwatananonen_US
dc.contributor.authorPhanpit Suwanakulen_US
dc.contributor.authorViroj Thangcharoensathienen_US
dc.contributor.authorโรงพยาบาลลำปางen_US
dc.contributor.authorLampang Hospitalen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:35Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:35:00Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:35Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:35:00Z
dc.date.issued2548en_US
dc.identifier.otherhs1189en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1583en_US
dc.descriptionชื่อหน้าปก : โครงการวิจัยเรื่องการแทนยาฉีดด้วยยารับประทานในผู้ป่วยที่นอนรักษาในโรงพยาบาลth_TH
dc.description.abstractวัตถุประสงค์เพื่อวัดประสิทธิภาพการส่งเสริมการแทนยาฉีดด้วยยารับประทาน ระหว่างวิธีที่ 1 การให้ข้อมูลการแทนยาแก่แพทย์ตามรายผู้ป่วยที่มีโอกาสแทนยา กับวิธีที่ 2 การให้ข้อมูลการแทนยาแก่แพทย์เป็นรายกลุ่ม พร้อมวัดความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อระบบการส่งเสริมการแทนยา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแพทย์ในการแทนยา และเปรียบเทียบอุบัติการณ์ของผู้ป่วยที่มีโอกาสแทนยาระหว่าง 2 โรงพยาบาล จึงทำการศึกษากึ่งทดลองที่โรงพยาบาลลำปาง ในช่วง สิงหาคม 2546 ถึงมกราคม 2548 โดยเปรียบเทียบข้อมูลของผู้ป่วยในอายุมากกว่า 1 ปี ได้รับการสั่งใช้ยาฉีดเป้าหมายเพื่อการรักษาไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง ใน 3 ช่วงเวลา ช่วงที่ 1 (ก่อนดำเนินการ) ช่วงที่ 2 (ขณะดำเนินการ) และช่วงที่ 3 (4 เดือนหลังดำเนินการ) เก็บข้อมูลติดต่อกัน 14 วันเพื่อศึกษาหาจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับยาฉีดเป้าหมายที่มีโอกาสเปลี่ยนเป็นยารับประทานตามเกณฑ์มาตรฐาน คำนวณจำนวนวันฉีดยาเกินจากเกณฑ์ จำนวนวันฉีดยา จำนวนวันนอนโรงพยาบาล และมูลค่าสูญเสียที่เกิดจากการฉีดยาเกินจากเกณฑ์ วิเคราะห์ผลของการดำเนินการแบบตัวแปรพหุ เมื่อควบคุมตัวแปร อายุ เพศ Charlson index เคยรับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก และแผนกที่เข้ารับการรักษาโดยใช้ generalized linear model วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแพทย์ในการแทนยา โดยใช้ linear regression model และวัดความพึงพอใจโดยใช้แบบตอบคำถามด้วยตนเอง และทำการศึกษาเชิงพรรณนาที่โรงพยาบาลขอนแก่น ในช่วง 8 ถึง 21 ธันวาคม 2546 เพื่อหาอุบัติการณ์ของผู้ป่วยที่มีโอกาสแทนยา ผลการศึกษาพบว่า วิธีการส่งเสริมการแทนยาฉีดด้วยยารับประทานที่โรงพยาบาลลำปางโดยวิธีที่ 1 มีประสิทธิภาพมากกว่า วิธีที่ 2 ที่สามารถลดอุบัติการณ์ของผู้ป่วยที่มีโอกาสแทนยาจากร้อยละ 36.6 เป็นร้อยละ 19.6 ลดจำนวนวันที่ใช้ยาฉีดเกินจากเกณฑ์ร้อยละ 70.2 (p<0.001) ลดจำนวนวันที่ใช้ยาฉีดร้อยละ 11.8 (p<0.05) และลดมูลค่าการสูญเสียที่เกิดจากการฉีดยาเกินจากเกณฑ์ 60.9 (p<0.001) หากโรงพยาบาลมีนโยบายส่งเสริมการแทนยาอย่างต่อเนื่องโดยวิธีที่ 1 จะสามารถลดค่าใช้จ่ายด้านยาได้ไม่น้อยกว่า 200,000 บาทต่อเดือน ในขณะที่วิธีที่ 2 เพียงแต่ลดอุบัติการณ์ของผู้ป่วยที่มีโอกาสแทนยาจากร้อยละ 31.3 เป็นร้อยละ 25.5 แต่ไม่มีผลลดหรือเพิ่มตัวแปรที่ศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตาม ผลสำรวจความพึงพอใจของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง พบว่าแพทย์และเภสัชกรส่วนใหญ่พึงพอใจในวิธีการส่งเสริมการแทนยาในวิธีที่ 2 มากกว่าวิธีที่ 1 ส่วนพยาบาลนั้นพึงพอใจหากต้องฉีดยาให้ผู้ป่วยน้อยลง ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแทนยาของแพทย์ ได้แก่ ประเภทยาที่แพทย์สั่งใช้ (p<0.05) และวิธีการสื่อสารของเภสัชกร (p<0.01) นอกจากนี้ยังพบว่าอุบัติการณ์ของผู้ป่วยที่มีโอกาสแทนยาของโรงพยาบาลลำปางก่อนมีการส่งเสริมการแทนยาใกล้เคียงกับของโรงพยาบาลขอนแก่นที่พบร้อยละ 36.3 ดังนั้น โรงพยาบาลในระดับโรงพยาบาลศูนย์อาจนำวิธีการส่งเสริมการแทนยาวิธีที่ 1 ไปประยุกต์ใช้เป็นนโยบายในการลดอุบัติการณ์ของผู้ป่วยที่มีโอกาสแทนยา เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลด้วยยาในโรงพยาบาลth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1189736 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Service Systemsen_US
dc.subjectDrugen_US
dc.subjectDrug Therapyen_US
dc.subjectระบบบริการสุขภาพen_US
dc.subjectยาen_US
dc.subjectการรักษาด้วยยาen_US
dc.subjectการบริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการแทนยาฉีดด้วยยารับประทานในผู้ป่วยที่นอนรักษาในโรงพยาบาลth_TH
dc.title.alternativeParenteral-oral drug switching in hospitalized patientsen_US
dc.description.abstractalternativeA quasi experiment was conducted at Lampang Hospital during August 2003 to January 2005 to compare the effectiveness of the pharmacist interventions between using case-based approach and group education in promoting parenteral-oral (IV-PO) drug switching in hospitalized patients. In the mean time, the study measures the satisfaction of health care team and factors affecting physician in switching from IV drug to PO drug. Medical charts of inpatients over one year of age were reviewed prospectively by a clinical pharmacist for two consecutive weeks in three phases for each type of intervention; phase I as baseline period, phase II as intervention period, and phase III as four months post intervention. Candidates for the switching were identified according to the developed guideline. Excess days, durations of IV drug use, length of stay, and potential waste were determined. The generalized linear model was used to adjust age, sex, Charlson index, history of intensive care unit admission, and departments in the multivariate analysis. A descriptive study also was done at Khon Kaen Hospital to determine and compare the incidence of switching candidates with the same switching guideline.The results revealed that the pharmacist intervention using the case-based approach was more effective than using group education, which the case-based approach could reduce (1) the incidences of switching candidates from 36.6% to 19.6%, (2) excess days by 70.2% (p<0.001), (3) durations of IV used by 11.8% (p<0.05) and (4) potential wastes by 60.9% (p<0.001) whereas the group education could reduce only the incidences of switching candidates from 31.3% to 25.5%. No statistically significant change of the studied outcomes including potential waste was found. The case-based approach could save an average of 200,000 Baht a month. However, the majority of physicians and pharmacists preferred the intervention using group education more than case-based approach. During phase II of the case-based approach intervention, the factors affecting physicians in switching from the IV drug to the PO drug were the drug categories A or B (p<0.05) and type of intervention via verbal or written (p<0.01). With the same switching guideline, the incidence of switching candidates at the Lampang Hospital and the Khon Kaen Hospital were comparable at 36.6% and 36.3%, respectively. Thus the case-based approach was the effective strategy in promoting IV-PO switching and it was also a cost-saving program. About one-third of IV drugs in the tertiary care hospitals could switch to oral drugs, which could save drug expenditures. This case-based approach might be applied in order to reduce the incidences of switching candidates and lead to reduce health care costs.en_US
dc.identifier.callnoWB350 ร622ก 2548en_US
dc.identifier.contactno46ค073en_US
dc.subject.keywordpharmacisten_US
dc.subject.keywordimpacten_US
dc.subject.keywordinterventionen_US
dc.subject.keywordIV-PO switchingen_US
dc.subject.keywordhospitalization patientsen_US
dc.subject.keywordเภสัชกรen_US
dc.subject.keywordผลกระทบen_US
dc.subject.keywordการแทรกแซงen_US
dc.subject.keywordการแทนยาฉีดด้วยยารับประทานen_US
dc.subject.keywordผู้ป่วยในen_US
.custom.citationรุ่งทิวา หมื่นปา, Rungtiwa Hmuenpha, จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์, สุพล ลิมวัฒนานนท์, พรรณพิศ สุวรรณกูล, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร, Chulaporn Limwattananon, Suphon Limwatananon, Phanpit Suwanakul, Viroj Thangcharoensathien, โรงพยาบาลลำปาง and Lampang Hospital. "การแทนยาฉีดด้วยยารับประทานในผู้ป่วยที่นอนรักษาในโรงพยาบาล." 2548. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1583">http://hdl.handle.net/11228/1583</a>.
.custom.total_download68
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year2

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1189.pdf
ขนาด: 1.450Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย