Show simple item record

Universal health insurance and decentralization : a feasibility for universal coverage achievement

dc.contributor.authorวินัย ลีสมิทธิ์en_US
dc.contributor.authorVinai Leesmidten_US
dc.contributor.authorศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัยen_US
dc.contributor.authorSupasit Pannarunothaien_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:21:05Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:39:40Z
dc.date.available2008-12-04T05:21:05Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:39:40Z
dc.date.issued2544en_US
dc.identifier.otherhs0799en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1658en_US
dc.description.abstractการสร้างหลักประกันสุขภาพทั่วหน้ากับการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข การทบทวนองค์ความรู้นี้ เป็นการตรวจสอบองค์ความรู้เชิงทฤษฎีและประสบการณ์ของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น เพื่อให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ของบทบาทองค์กรท้องถิ่นกับการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การทบทวนองค์ความรู้ประกอบด้วยตอนสำคัญ 2 ตอน ตอนที่ 1 เป็นการทบทวนเกี่ยวกับแนวคิดของการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข การปกครองส่วนท้องถิ่น ประสบการณ์การปกครองส่วนท้องถิ่นในต่างประเทศ และสถานการณ์การกระจายอำนาจในประเทศไทย ตอนที่ 2 เป็นการทบทวนการจัดตั้งหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศต่างๆ เพื่อให้เข้าใจแนวคิดและปัญหาอุปสรรคในการจัดบริการการคลังสาธารณสุข และบทบาทขององค์กรท้องถิ่นต่อระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศนั้นๆ โดยหวังว่าองค์ความรู้ที่สังเคราะห์ได้จะเป็นข้อมูลที่สำคัญต่อการกำหนดนโยบาย และการดำเนินงานของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยต่อไป จากการทบทวนองค์ความรู้สรุปได้ว่า การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นสิ่งสำคัญอย่างมากในการจัดสวัสดิการสังคมด้านสาธารณสุข การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น ไม่ได้มีความสัมพันธ์โดยตรงต่อการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสามารถเกิดขึ้นได้ โดยไม่จำเป็นต้องมีการกระจายอำนาจ อย่างไรก็ตามการกระจายอำนาจถูกมองว่าเป็นกลวิธีที่สำคัญต่อการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีประสิทธิภาพ องค์ความรู้ที่ได้รับสามารถนำมาเป็นข้อเสนอแนะต่อการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยได้ว่า การสร้างหลักประกันสุขภาพในประเทศไทย ควรได้รับการสนับสนุนให้เป็นนโยบายระดับชาติซึ่งปัจจุบันยังไม่มี หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่สร้างควรเป็นระบบการประกันภาคบังคับ ไม่ใช่การสมัครใจ เพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดตามมา เช่น การเลือกประกันตนเฉพาะผู้เสี่ยงต่อการเจ็บป่วย (selection bias) เป็นต้น บทบาทขององค์กรท้องถิ่นในด้านสาธารณสุขควรมีการกำหนดให้ชัดเจน ทั้งด้านการจัดบริการและการคลังสาธารณสุข และบทบาทด้านสาธารณสุขควรได้รับความสำคัญไม่น้อยกว่าด้านอื่นๆ การจัดตั้งหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าควรเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบทีละขั้นเพื่อลดแรงต่อต้านจากทั้งภาครัฐและเอกชน สุดท้ายควรมีการดำเนินการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในส่วนองค์ความรู้ที่ขาด โดยเฉพาะเชิงการบริหารจัดการ อย่างน้อยควรได้มีองค์ความรู้ว่าองค์กรท้องถิ่นควรมีหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างไรในระบบที่มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทยen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1158900 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขen_US
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขen_US
dc.subjectระบบประกันสุขภาพen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น : ความเป็นไปได้ของการบรรลุความครอบคลุมถ้วนหน้าen_US
dc.title.alternativeUniversal health insurance and decentralization : a feasibility for universal coverage achievementen_US
dc.description.abstractalternativeUniversal Coverage Initiation and Health Care Decentralization in Different Countries This literature review concerns about the theory and experience on universal coverage initiation that is related to health care decentralization in different countries. The review consists of two important parts. Part one involves the concept of health care decentralization, local government administration, experiences in local government arrangements in some countries, and decentralization situation in Thailand. Part two describes universal coverage initiation in various countries to understand the concept and difficulties in universal health care provision, health care financing, and roles of local government within universal coverage. It is hoped that the obtained knowledge from the review will be the fundamental foundation for policy setting and implementation of universal coverage in Thailand. From literature review, it can be concluded that universal coverage is very essential for health service welfare. Decentralization has no direct relation to universal coverage initiation. Universal coverage can occurs without decentralization. However decentralization has been viewed as an important strategy to achieve the effective and efficient universal coverage. The obtained knowledge can be synthesized to be some recommendations for universal coverage initiation in Thailand that there should be universal coverage policy at the national level. It should be compulsory system rather than voluntary one to prevent the coming problems such as selection bias. The roles of local governments need to be clearly defined both in health care provision and financing roles. Health sector should be accepted as important as other sectors. The universal coverage should be developed step by step to avoid the opposition from both public and private sectors. Finally, it needs to have more information from additional research studies to fulfill the gap of knowledge particularly in administrative and management aspects. At least, there should be information about the roles of local governments within universal coverage in Thailand.en_US
dc.identifier.callnoW160 ว619ห 2544en_US
dc.subject.keywordUniversal Health Coverageen_US
dc.subject.keywordHealth Insuranceen_US
dc.subject.keywordDecentralizationen_US
dc.subject.keywordหลักประกันสุขภาพen_US
dc.subject.keywordบริการสุขภาพen_US
dc.subject.keywordการกระจายอำนาจen_US
.custom.citationวินัย ลีสมิทธิ์, Vinai Leesmidt, ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย and Supasit Pannarunothai. "หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น : ความเป็นไปได้ของการบรรลุความครอบคลุมถ้วนหน้า." 2544. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1658">http://hdl.handle.net/11228/1658</a>.
.custom.total_download195
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year5

Fulltext
Icon
Name: hs0799.pdf
Size: 665.3Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record