Show simple item record

Public Health Decentralization : Proposals for Thailand

dc.contributor.authorพีระ ตันติเศรณีen_US
dc.contributor.authorPeera Tantisaeneeen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:22:39Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:43:43Z
dc.date.available2008-12-04T05:22:39Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:43:43Z
dc.date.issued2544en_US
dc.identifier.otherhs0781en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1853en_US
dc.description.abstractการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขมิอาจมุ่งเฉพาะการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่นแต่เพียงอย่างเดียว จำเป็นต้องมีกระบวนการ ระบบ วิธีการเปลี่ยนแปลงที่เป็นการเพิ่มอำนาจให้ผู้ป่วย ประชาชน ชุมชน ประชาสังคมด้วย และคำนึงถึงประวัติศาสตร์และบริบทต่างๆ อย่างรอบด้าน ตรงนี้เองคือการปฏิรูประบบสุขภาพที่จำเป็นต้องยึดหลักบูรณาการ (integration) และการมองแบบองค์รวม (holistic view) เพราะหากไม่เป็นเช่นนั้น กระบวนการ ระบบ วิธีการ นวัตกรรมที่เป็นผลผลิตจากการปฏิรูปก็จะกลายเป็นอัปลักษณะอย่างใหม่ของสังคมไทย เป็นการแก้ปัญหาที่ก่อปัญหาอย่างใหม่ขึ้นมา กลายเป็นเรื่องที่ต้องการการปฏิรูปหลังการปฏิรูปไปเรื่อยๆ หรืออาจจะเผชิญกับแรงเหวี่ยงกลับของสังคมแม้ความเป็นไปเหล่านี้จะเป็นธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงตามหลักไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) ทางพุทธศาสตร์ แต่กระบวนการภูมิปัญญาของสังคมควรมีบทบาทบรรเทาการเปลี่ยนแปลงด้านร้ายที่จะเกิดขึ้นไว้ก่อน สำหรับประเทศไทยเมื่อคำนึงถึงบริบทเชิงประวัติศาสตร์ของพัฒนาการระบบสุขภาพและพลวัตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรวมทั้งความสอดคล้องกับเจตนารมย์ของรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 ขอเสนอ ดังนี้ 1. การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในช่วงสี่ปีแรก (2544-2547) ซึ่งพรบ.ฯ กำหนดให้เป็นช่วงปรับปรุงระบบบริหารง่ายภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและราชการสวนภูมิภาคและความพรอมในการถ่ายโอนรวมกับช่วงถ่ายโอนอย่างสมบูรณในหกปหลัง (2548-2553) ควรถือเป็นระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional Period) ที่ทั้งฝ่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ราชการสวนกลาง-ภูมิภาคและภาคประชาชนไดเรียนรูและความร่วมมือกันในกระบวนการกระจายอำนาจ 2. โครงสร้างและรูปแบบเชิงสถาบัน/การจัดองค์การในระยะเปลี่ยนผ่านสี่ปีแรก เสนอมีภาคีหลัก 3 ฝ่าย ได้แก่ ราชการส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาค (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาลและสถานีอนามัย) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล) และภาคประชาชน/ประชาสังคม การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่นในระยะผ่าน ได้แก่ การถ่ายโอนภารกิจการให้บริการสุขภาพขั้นต้น (primary care) ซึ่งเป็นภารกิจที่ซ้ำซ้อนให้แก่เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบลในการนี้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลจังหวัดและเครือข่ายหน่วยงานในสังกัดปรับบทบาทมาเป็นการสนับสนุนหรือดำเนินการได้ในลักษณะโครงการบริการสุขภาพปฐมภูมิเพื่อเป็นต้นแบบให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยไม่เน้นการครอบคลุมประชากร 3. ควรให้มีคณะกรรมการโรงพยาบาลที่คล้ายคณะกรรมการสถานศึกษาตามพรบ.การศึกษาแห่งชาติมาเสริม ที่สำคัญยิ่งก็คือระบบตรวจสอบความรับผิดชอบและการเพิ่มอำนาจของภาคประชาชนที่มีผลมากที่สุดจากประสบการณ์สากลจะเกิดขึ้นได้ก็โดยยุทธศาสตร์การเคลื่อนไหวภาคประชาชนในรูปการจัดตั้งเป็นเครือข่าย กลุ่ม หรือองค์กรคู่ขนาน (paralle organization) กับองค์กรภาครัฐ 4.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แม้จะคลายข้อจำกัดทางอำนาจการคลังและบุคลากรซึ่งมีผลเพิ่มศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพรบ.ฯ แต่คงมีสภาพไม่ลงตัวเรื่องบทบาทหน้าที่รูปธรรมระหว่างองค์การบริหารส่วนจังหวัดกับเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล นับเป็นเรื่องหนึ่งที่ต้องได้รับการปฏิรูปต่อไป โดยเฉพาะในเรื่องการจำแนกบทบาทอย่างชัดเจนระหว่างอบจ. – เทศบาลและอบต. 5. ควรจัดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางกับองค์กรปกครองท้องถิ่นใหม่ โดยให้องค์กรปกครองท้องถิ่นมีอิสระมากขึ้นในการดำเนินนโยบายการพัฒนาและการบริหารงานบุคคล 6. ควรเร่งดำเนินการเรื่องระบบประกันสุขภาพแห่งชาติ เนื่องจากมีหลักการรายละเอียดหลายประการที่เกี่ยวข้องกับสถานบริการสุขภาพภาครัฐth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent579699 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectPublication Health Admistrationen_US
dc.subjectDecentralizationen_US
dc.subjectสาธารณสุข--ไทยen_US
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขen_US
dc.titleการกระจายอํานาจด้านสาธารณสุข : ข้อเสนอสําหรับประเทศไทยen_US
dc.title.alternativePublic Health Decentralization : Proposals for Thailanden_US
dc.identifier.callnoWA540.JT3 พ796ก 2544en_US
dc.subject.keywordบริการสาธารณสุขen_US
.custom.citationพีระ ตันติเศรณี and Peera Tantisaenee. "การกระจายอํานาจด้านสาธารณสุข : ข้อเสนอสําหรับประเทศไทย." 2544. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1853">http://hdl.handle.net/11228/1853</a>.
.custom.total_download105
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month2
.custom.downloaded_this_year12
.custom.downloaded_fiscal_year12

Fulltext
Icon
Name: hs0781.pdf
Size: 440.8Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record