แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะชุมชน

dc.contributor.authorสุนีย์ มัลลิกะมาลย์en_US
dc.contributor.authorSunee Mullikamalen_US
dc.contributor.authorนันทพล กาญจนวัฒน์en_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:23:07Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:47:52Z
dc.date.available2008-12-04T05:23:07Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:47:52Z
dc.date.issued2543en_US
dc.identifier.otherhs0731en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1914en_US
dc.description.abstractการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะชุมชนปัญหาขยะนำมาซึ่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ อนามัย ความเป็นอยู่ที่ดี คุณภาพที่ดีของประชาชน และสิ่งแวดล้อม โดยมีสาเหตุสำคัญมาจากผลพวงการบริโภคของประชาชน ทำให้ปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้นจนเกินขีดความสามารถของราชการส่วนท้องถิ่นที่จะกำจัดให้หมดไปได้ ปัญหาจึงสะสมมาจนถึงปัจจุบัน แต่อย่างไรก็ตามปัญหานี้ก็ได้รับการแก้ไขด้วยวิธีการต่าง ๆ และหนึ่งในวิธีการนั้นก็คือ การลดปริมาณขยะด้วยการให้ผู้ทิ้งขยะคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ขยะส่วนหนึ่งที่คัดแยกจะเป็นขยะมีมูลค่านำไป reuse หรือ recycle ได้ ขยะส่วนหนึ่งนำไปทำเป็นปุ๋ยหมักได้ จึงคงเหลือส่วนที่จะทิ้งน้อยลงการคัดแยกขยะจำเป็นต้องให้ประชาชนผู้ทิ้งขยะยอมรับวิธีการคัดแยก และยอมปฏิบัติตาม นั่นคือ การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ซึ่งการวิจัยนี้พบว่ามีแนวทางการดำเนินการได้ 2 แนวทาง คือการใช้กลไกทางการศึกษา โดยให้นักเรียนและครูเป็นผู้มีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ ภายใต้โครงการการจัดการขยะ ด้วยการให้นักเรียนคัดแยกขยะจากบ้านและนำเอาขยะมีมูลค่า เช่น กระดาษ ขวดแก้ว มาโรงเรียนเพื่อรวบรวมขายยังร้านขายของเก่า ขยะมีมูลค่าบางประเภทครูก็จะสอนให้นำมาแปลงใช้ใหม่โดยใช้วิธีการง่าย ๆ เช่น กระดาษทำเป็นโคมไฟ พลาสติกทำเป็นดอกไม้ เป็นต้น สำหรับขยะที่ขายนั้นนักเรียนเจ้าของขยะจะได้รับสิ่งตอบแทนเป็นคะแนนเรียกว่า คะแนนความดี และสะสมไว้ในธนาคารเรียกว่า ธนาคารความดี เพื่อจะได้เอาคะแนนความดีไปแลกเปลี่ยนเป็นสิ่งของภายหลัง อีกลักษณะหนึ่งของกลไกทางการศึกษานี้คือ โครงการ 3 พลังรวมใจรีไซเคิล มีวิธีการคือ ให้นักเรียนคัดแยกขยะที่บ้านและโรงเรียนตามประเภทที่กำหนดให้ และนำขยะมีมูลค่ามามอบให้โรงเรียนเพื่อนำไปขายเอาเงินไว้ใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน แล้วขยายผลการคัดแยกขยะไปสู่ชุมชน ด้วยการหาสมาชิกคัดแยกขยะเพิ่มโดยเริ่มจากนักเรียน ครูในโรงเรียน และชุมชนการใช้กลไกทางชุมชน โดยใช้การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้แก่คนในชุมชนให้ทำการคัดแยกขยะอย่างต่อเนื่อง โดยราชการส่วนท้องถิ่นสนับสนุนการคัดแยกขยะด้วยการจัดหาอุปกรณ์จัดเก็บขยะและเก็บขนขยะให้ถูกประเภทที่ได้คัดแยกไว้ จากการวิจัยสรุปผลได้ว่า การคัดแยกขยะก่อนทิ้งสามารถลดปริมาณขยะลงไปได้ ซึ่งช่วยแก้ไขปัญหาขยะ ทั้งนี้ การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน นักเรียน ครู เป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectRefuse Disposalen_US
dc.subjectประชาสังคมด้านสุขภาพen_US
dc.subjectชุมชน--แง่สิ่งแวดล้อมth_TH
dc.subjectการจัดการขยะth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะชุมชนen_US
dc.title.alternativePublic participation in community garbage managementen_US
dc.description.abstractalternativePeople’s Participation in the Management of Community Garbage Garbage problems, resulting from consumption, directly affect the people’s health, their well being, their good quality of life and the environment. Garbage volume increase is too high for local administration to handle and the problems thus aggravated. One of several ways to tackle these problems is the reduction of garbage volume by garbage separation. One portion of the garbage could be reused or recycled while the other portion could produce organic fertilizer thus reducing the volume of garbage to be disposed of. It is necessary that garbage separation method be acceptable to the people and that they comply by separating garbage before disposing of it. This research has found two approaches for this.Education Mechanism Teachers and students participate in garbage separation activities under garbage management program. Students bring from their homes reusable item such as paper, glass bottles to school to pool them and sell them to scavengers at their shops. Teachers may teach students how to convert some reusable items into other useful items such as paper lampshade from discarded paper or plastic flowers from discarded plastic items. Students who brought garbage that would later be sold would earn merit points accumulated in account in merit bank which could be exchanged for consumable items later. Another feature of this education mechanism is the 3 United Recycle Powers Program which requires students to separate required garbage from home and school and give it to the school for sale, the proceeds from which shall be used for school’s activities. Garbage separation shall later be introduced to the community in which the school is situated by the students, the teachers, and community members.2. Community Mechanism Garbage separation campaign to educate the community shall be launched continually, it is supported by local administration by the provision of separated garbage collection equipment to collect garbage that is already separated. It is concluded by the research that garbage separation prior to disposal reduces garbage volume which helps solve garbage problems. Participation from the people, community, students and teachers is mainly an effective element.en_US
dc.identifier.callnoWA780 ส821ก 2543en_US
dc.subject.keywordGarbage Managementen_US
dc.subject.keywordPublic Participationen_US
dc.subject.keywordCommunityen_US
dc.subject.keywordการมีส่วนร่วมen_US
dc.subject.keywordขยะ--การจัดการen_US
dc.subject.keywordสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพen_US
.custom.citationสุนีย์ มัลลิกะมาลย์, Sunee Mullikamal and นันทพล กาญจนวัฒน์. "การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะชุมชน." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1914">http://hdl.handle.net/11228/1914</a>.
.custom.total_download580
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month3
.custom.downloaded_this_year5
.custom.downloaded_fiscal_year5

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0731.pdf
ขนาด: 2.247Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย