Show simple item record

Commission paper of decentralization : conceptual model of public health service system

dc.contributor.authorปริวรรต อุดมศักดิ์en_US
dc.contributor.authorPariwat Udomsaken_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:23:13Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:48:01Z
dc.date.available2008-12-04T05:23:13Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:48:01Z
dc.date.issued2544en_US
dc.identifier.otherhs0808en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1926en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาในเชิงคุณภาพโดยการประชาพิจารณ์กลุ่ม (Group Think) เพื่อระดมความคิดเห็นจากกลุ่มต่างๆ จำนวน 6 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 1,350 คน ประกอบด้วย ครั้งที่ 1 ผู้เกี่ยวข้องกับการให้บริการสาธารณสุข อ.ทุ่งสง จำนวน 100 คน ครั้งที่ 2 ประชาชนนอกเขตเทศบาลตำบลปากแพรก จำนวน 500 คน ครั้งที่ 3 ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลปากแพรก จำนวน 200 คน ครั้งที่ 4 ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลปากแพรก จำนวน 250 คน ครั้งที่ 5 อาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลปากแพรก จำนวน 150 คน ครั้งที่ 6 ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ชมรม สมาคม สถาบันการศึกษา จำนวน 150 คน โดยใช้วิธีการจดบันทึกความคิดจากการระดมความคิดลงบนแผนที่ความคิด (Mind Map) และจากการศึกษาในเชิงปริมาณเพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนในเขตและนอกเขตเทศบาลในเรื่องการจัดระบบบริการสาธารณสุขโดยใช้รูปแบบกองทุนประกันสุขภาพ จำนวน 87 คน (จากแบบสอบถามจำนวน 100 ชุด รับคืน 87 ชุด คิดเป็น 87%) ผลการศึกษาพบว่า ผลการประชาพิจารณ์กลุ่มระดมความคิดเห็น (Group Think) ทั้ง 6 ครั้ง มีความเห็นสอดคล้องกันทุกกลุ่ม คือการรับภารกิจการบริการด้านสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรเน้นให้เครือข่ายส่วนท้องถิ่น ซึ่งประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล ประชาสังคมและรัฐส่วนภูมิภาค บริหารจัดการระบบบริการสาธารณสุขทั้งระบบร่วมกัน โดยใช้กลไกกองทุนประกันสุขภาพเป็นเครื่องมือในการให้บริการสาธารณสุขแก่ประชาชนทุกคน และการจ่ายให้กองทุนฯ ตามอัตภาพ เช่น มี 100 บาทรักษาได้ทุกโรค หรือไม่มีเลยก็สามารถรักษาได้ทุกโรคเช่นกัน ในส่วนของบุคลากรทางสาธารณสุขมีความเห็นว่า ส่วนท้องถิ่นควรเน้นการให้บริการเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการส่งต่อผู้ป่วยไปก่อน ส่วนการรักษาพยาบาลให้คงระบบเดิมไว้ โดยบริหารจัดการด้วยกรรมการบริหารของกองทุนประกันสุขภาพ ซึ่งประกอบด้วย พหุภาคีภาพ ซึ่งผลการศึกษาความคิดเห็นของประชาชนในเรื่องกองทุนประกันสุขภาพทั้งในเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถาม และเชิงคุณภาพโดยใช้การประชาพิจารณ์กลุ่มระดมความคิด (Group Think) ผลการศึกษาออกมาสอดคล้องกันว่า เห็นด้วยกับการใช้กองทุนประกันสุขภาพเป็นกลไกเครื่องมือในการดำเนินการ แต่ยังไม่มั่นใจในหลักเกณฑ์มาตรฐานของกองทุนประกันสุขภาพ ขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการกองทุนที่มีประสิทธิภาพ ต้องการให้มีการปฏิบัติในพื้นที่จริง ข้อเสนอแนะ 1. การกระจายอำนาจระบบการบริการสาธารณสุข ต้องดำเนินการถ่ายโอนภารกิจและทรัพยากรต่างๆ ได้ทันทีth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1266579 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการจัดระบบการรับภารกิจการกระจายอำนาจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระบบบริการสาธารณสุขของเทศบาลตำบลปากแพรก ทุ่งสงen_US
dc.title.alternativeCommission paper of decentralization : conceptual model of public health service systemen_US
dc.identifier.callnoWA530 ป456ก 2544en_US
dc.subject.keywordองค์กรปกครองท้องถิ่นen_US
dc.subject.keywordระบบบริการสาธารณสุขen_US
dc.subject.keywordเทศบาลตำบลปากแพรกen_US
dc.subject.keywordทุ่งสงen_US
.custom.citationปริวรรต อุดมศักดิ์ and Pariwat Udomsak. "การจัดระบบการรับภารกิจการกระจายอำนาจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระบบบริการสาธารณสุขของเทศบาลตำบลปากแพรก ทุ่งสง." 2544. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1926">http://hdl.handle.net/11228/1926</a>.
.custom.total_download83
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year6

Fulltext
Icon
Name: hs0808.pdf
Size: 874.4Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record