Show simple item record

[Case Study on Behaviours of Families and Community Living with HIV/AIDS Patient]

dc.contributor.authorสำราญ อาบสุวรรณen_US
dc.contributor.authorSamran Aabsuwanen_US
dc.contributor.authorนฤภร ต้นบุญen_US
dc.contributor.authorศันสนีย์ ศรีวงษ์ชัยen_US
dc.contributor.authorนงคราญ ปุงไธสงen_US
dc.contributor.authorนันทนา คงนันทะen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:23:59Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:39:38Z
dc.date.available2008-12-04T05:23:59Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:39:38Z
dc.date.issued2541en_US
dc.identifier.otherhs0407en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2023en_US
dc.description.abstractการศึกษาพฤติกรรมการอยู่ร่วมกันของผู้ติดเชื้อเอดส์ครอบครัวและชุมชนในจังหวัดบุรีรัมย์ : กรณีศึกษา โรคเอดส์ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศปัญหาหนึ่ง เนื่องจากไม่มียารักษาให้หายขาดได้นับวันปัญหาจะทวีความรุนแรงมากขึ้น การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการอยู่ร่วมกันระหว่างผู้ติดเชื้อเอดส์ ครอบครัว และชุมชนในจังหวัดบุรีรัมย์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ติดเชื้อเอดส์ จำนวน 9 ราย สมาชิกในครอบครัวผู้ติดเชื้อเอดส์ จำนวน 13 ราย ผู้นำชุมชนและประชาชนในหมู่บ้านผู้ติดเชื้อเอดส์ จำนวน 9 หมู่บ้าน การเก็บข้อมูลใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth Interview) ในกลุ่มตัวอย่างที่ 1 และ 2 และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ในกลุ่มตัวอย่างที่ 3 ระยะเวลาการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง มิถุนายน 2540 ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อเอดส์ ส่วนใหญ่ยังปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง ซึ่งได้แก่ การรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ การออกกำลังกาย การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย และการป้องกันการติดเชื้อแทรกซ้อนและการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ส่วนการดูแลด้านจิตใจ พบว่า ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่มีสุขภาพจิตดีและสามารถปรับตัวเพื่อยอมรับความจริง และปัญหาที่เกิดขึ้นได้เนื่องจากการได้รับกำลังใจจากบุคคลใกล้ชิด ส่วนพฤติกรรมการอยู่ร่วมกันของสมาชิกในครอบครัว พบว่า สามารถอยู่ร่วมกันได้เนื่องจากผู้ติดเชื้อเป็นสมาชิกคนหนึ่งในครอบครัว แต่ยังขาดความพร้อมในเรื่องการปฏิบัติและการดูแลผู้ติดเชื้อเอดส์ซึ้งพบว่า การดูแลและการปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อนั้นยังทำไม่ถูกต้องในบางเรื่อง เช่น การทำแผล การกำจัดสิ่งปนเปื้อน การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ เป็นต้น ส่วนพฤติกรรมการอยู่ร่วมกันในสังคมระหว่างผู้ติดเชื้อกับชุมชนพบว่า สามารถอยู่ร่วมกันได้ในลักษณะจำยอมหรือมีเงื่อนไข เนื่องจากผู้ติดเชื้อเอดส์เป็นสมาชิกคนหนึ่งในชุมชนนั้นและยังพบว่าชุมชนยังขาดความพร้อมที่จะแบกรับและเผชิญกับปัญหาดังกล่าวข้างต้นด้วย จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า ปัญหาการอยู่ร่วมกันในสังคมของผู้ติดเชื้อเอดส์ ครอบครัว และชุมชนก็ยังคงมีอยู่ต่อไป ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องเข้ามาดำเนินงานแก้ไข ตลอดจนส่งเสริมและรณรงค์ให้สังคมและชุมชนสามารถอยู่ร่วมกันผู้ติดเชื้อ เหล่านี้ได้ด้วยความเต็มใจ มีความพร้อม และมีศักยภาพเพียงพอที่จะรองรับปัญหาที่เกิดขึ้น โดยจะต้องอาศัยการประสานงานและร่วมกันทำงานของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้ปัญหานี้หมดไปในอนาคตอันใกล้นี้en_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์en_US
dc.subjectAcquired Immunodeficiency Syndromeen_US
dc.subjectImmune Complex Diseasesen_US
dc.subjectBehavioral Scienceen_US
dc.subjectAIDSen_US
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen_US
dc.subjectบุรีรัมย์en_US
dc.subjectผู้ติดเชื้อเอชไอวีth_TH
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมการอยู่ร่วมกันของผู้ติดเชื้อเอดส์ ครอบครัวและชุมชนในจังหวัดบุรีรัมย์ : กรณีศึกษาen_US
dc.title.alternative[Case Study on Behaviours of Families and Community Living with HIV/AIDS Patient]en_US
dc.identifier.callnoWC503 ส227ก 2541en_US
.custom.citationสำราญ อาบสุวรรณ, Samran Aabsuwan, นฤภร ต้นบุญ, ศันสนีย์ ศรีวงษ์ชัย, นงคราญ ปุงไธสง and นันทนา คงนันทะ. "การศึกษาพฤติกรรมการอยู่ร่วมกันของผู้ติดเชื้อเอดส์ ครอบครัวและชุมชนในจังหวัดบุรีรัมย์ : กรณีศึกษา." 2541. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2023">http://hdl.handle.net/11228/2023</a>.
.custom.total_download138
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs0407.PDF
Size: 1.970Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record