Show simple item record

Synthesis of Public Policy: The Road Accident Victim Protection Act, 1992

dc.contributor.authorไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาลen_US
dc.contributor.authorPaiboon Suriyawongpaisarnen_US
dc.contributor.authorอัมรินทร์ ทักขิญเสถียรen_US
dc.contributor.authorAmarint Takinsthiraen_US
dc.contributor.authorวิชุดา โค้วธนพานิชen_US
dc.contributor.authorWichuda Kowthanapanichen_US
dc.contributor.authorไท ชาญกลen_US
dc.contributor.authorTai Chankolen_US
dc.contributor.authorชัชวาล สิมะสกุลen_US
dc.contributor.authorChachawal Simasakulen_US
dc.contributor.authorปาริชาติ พัฒนะเมฆาen_US
dc.contributor.authorParichart Patanamekaen_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-07-22T03:18:38Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:02:21Z
dc.date.available2009-07-22T03:18:38Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:02:21Z
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 3,1(ม.ค.-มี.ค.2552) : 55-68en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2549en_US
dc.description.abstractรายงานนี้มุ่งหมายเพื่อเสนอผลการประเมินสถานภาพปัจจุบันของการดำเนินการตาม พรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 และเสนอแนะทางเลือกเชิงนโยบายเพื่อยกระดับการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ การศึกษาดำเนินโดยรวบรวมรายงานการวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ที่เผยแพร่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ แล้วนำผลมาวิเคราะห์เปรียบเทียบแนวคิด หลักการ และหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับผลการดำเนินการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จากการศึกษาพบว่า หลังจาก พรบ.นี้มีผลบังคับใช้ 16 ปี ผู้ประสบภัยจากรถได้รับความคุ้มครองระดับหนึ่ง (ร้อยละ 20-50 ขึ้นกับวิธีการวิจัย) การบรรลุผลนี้แลกมาด้วยการเสียโอกาสของผู้ประสบภัยจากรถอีกนับแสนรายเพราะความไม่รู้ ความวิตกต่อการถูกไล่เบี้ยตามหลักพิสูจน์ถูกผิดของกฎหมายฉบับปัจจุบัน ความเหนื่อยหน่ายต่อความยุ่งยากในการใช้สิทธิตามเกมส์ที่ธุรกิจประกันภัยวางไว้ การเสียโอกาสของผู้ประสบภัยที่จะได้รับบริการรักษาพยาบาลในระบบที่มีการยกระดับคุณภาพอย่างต่อเนื่องด้วยเงินส่วนที่ควรจะประหยัดได้ด้วยการบริหารจัดการที่มีต้นทุนต่ำกว่าที่ธุรกิจประกันภัยดำเนินการตลอด 16 ปีที่ผ่านไป การผลักภาระค่าใช้จ่ายให้กับกองทุนอื่นที่ดูแลผลประโยชน์ด้านการรักษาพยาบาลให้แก่ประชาชน ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ เนื่องจากผู้ประสบภัยส่วนใหญ่ยังเข้าไม่ถึงการคุ้มครองด้วยกฎหมายฉบับปัจจุบัน การหาประโยชน์ของธุรกิจประกันภัยโดยถูกต้องตามกฎหมายฉบับปัจจุบัน ซึ่งเป็นเงื่อนไขให้เกิดอุปสรรคในการคุ้มครองผู้ประสบภัยอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ ถ้าผู้ประสบภัยจากรถจะได้รับความคุ้มครองอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ รายงานนี้เสนอแนะ 2 ทางเลือกในการปรับระบบ ทางที่ 1 การแทนที่ พรบ.ฉบับปัจจุบันด้วยร่าง พรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถภาคบังคับ พ.ศ....ฉบับใหม่ ซึ่งจะอาศัยกรมบัญชีกลางและกรมการขนส่งทางบกในการบริหารจัดการการจ่ายค่าชดเชยและการเก็บรายได้โดยลำดับด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่าที่เป็นอยู่ และเกิดความสะดวกในการจ่ายค่าชดเชย/จัดเก็บรายได้มากยิ่งขึ้น ทางที่ 2 ให้ปรับปรุงการดำเนินการของ พรบ.ฉบับปัจจุบัน โดยจัดเก็บรายได้จากค่าน้ำมันเชื้อเพลิงแทนการเก็บเบี้ยประกันภัย การจัดตั้งหน่วยงานกลางสะสางการจ่ายค่าชดเชยให้สถานพยาบาลในแบบเดียวกับระบบของสหราชอาณาจักร ทั้งสองทางนี้จะทำให้เงินเหลือพอที่จะขยายการอุดหนุนการพัฒนาคุณภาพบริการผู้ประสบภัยจากรถและการป้องกันอุบัติเหตุจราจรth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent390173 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพen_US
dc.subjectผู้ประสบภัยจากรถen_US
dc.subjectConsumer Empowermenten_US
dc.subjectAccident, Traffic--Evaluation Studieen_US
dc.titleสังเคราะห์นโยบายสาธารณะ พรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535en_US
dc.title.alternativeSynthesis of Public Policy: The Road Accident Victim Protection Act, 1992en_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis synthesis paper was aimed at sheding light on the current performance of the Road Accident Victim Protection Act, 1992. It also attempted to identify ways and means to improve the status quo. The paper drew from the literature information pertinent to the law and its enforcement in Thailand and to similar laws and their enforcement in other countries. A comparison of concepts, principles and evidence related to these laws and their performance was also made. Public interest was put ahead of private interests in the comparison. It was found that over a period of 16 years of the law’s enforcement, it succeeded to a certain extent in protecting the interests of Thai road accident victims in terms of compensation for medical costs and loss of life. Nevertheless, success came at the expense of road accident victims and health insurance systems: 1. Hundreds of thousands of victims and their families were not covered by insurance due to ignorance, concern about legal action under the fault system of the law, and difficulties in making claims owing to the complicated extra rules and regulations set up by private insurance companies. 2. Unnecessary costs were incurred under the current compensation system operated by private insurance companies. 3. Opportunities to make use of medical care with ongoing quality improvement were lost, which could have been financed by a more efficient compensation system. 4. The burden of medical care costs on the victims was shifted to other health insurance schemes due to cumbersome access to the road victim compensation scheme. Proposed strategies to improve the current system are the following: 1. Replace the existing law with a proposed bill so that public agencies will replace private insurance companies; hence, unnecessary costs could be cut and claim procedures could be simplified greatly. 2. Modify premium collection by point-of-sale revenue collection from the price of fuel. This would preclude the need to pay commissions and other costs related to premium collection. 3. Adopt the compensation recovery unit model of the United Kingdom to improve efficiency in processing claims. 4. Expand the scope of missions to include financing for quality improvement of medical care and road accident injury prevention.en_US
dc.subject.keywordการคุ้มครองผู้ประสบภัยen_US
dc.subject.keywordพรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถen_US
.custom.citationไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล, Paiboon Suriyawongpaisarn, อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร, Amarint Takinsthira, วิชุดา โค้วธนพานิช, Wichuda Kowthanapanich, ไท ชาญกล, Tai Chankol, ชัชวาล สิมะสกุล, Chachawal Simasakul, ปาริชาติ พัฒนะเมฆา and Parichart Patanameka. "สังเคราะห์นโยบายสาธารณะ พรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2549">http://hdl.handle.net/11228/2549</a>.
.custom.total_download1680
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month18
.custom.downloaded_this_year69
.custom.downloaded_fiscal_year138

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v3n1 ...
Size: 385.3Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

Show simple item record