Show simple item record

Role of Family Physicians in Preventing Disabled Stroke Patients from Developing Pressure Sores

dc.contributor.authorเอกรัฐ จันทร์วันเพ็ญen_US
dc.contributor.authorEkarat Chanwanpenen_US
dc.coverage.spatialนครศรีธรรมราชen_US
dc.date.accessioned2008-10-01T10:38:37Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:19Z
dc.date.available2008-10-01T10:38:37Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:19Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) (ฉบับเสริม 4) : 907-913en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/256en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิผลของการให้การดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวมและต่อเนื่อง ในการลดอุบัติการณ์ของแผลกดทับในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยศึกษาอุบัติการณ์การเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองทุกรายที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลสิชล ตั้งแต่เดือนมกราคม 2548 ถึง ธันวาคม2549 พัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวมและใช้อุปกรณ์รองปุ่มกระดูกเพื่อป้องกันแผลกดทับ ประเมินประสิทธิผลการดูแลผู้ป่วยโดยการศึกษาอุบัติการณ์การเกิดแผลกดทับก่อนและหลังการใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวมและต่อเนื่อง การศึกษาพบอุบัติการการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ใน พ.ศ. 2548 คิดเป็นร้อยละ 18.37 ภายหลังจากการปรับรูปแบบการดูแลผู้ป่วยและใช้อุปกรณ์รองปุ่มกระดูกจากใยมะพร้าวสามารถลดอุบัติการแผลกดทับในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ใน พ.ศ. 2549 คิดเป็นร้อยละ 5.36 ตำแหน่งที่เกิดแผลกดทับมากที่สุดคือ บริเวณก้นกบ ส่วนหลังและสะโพก การประเมินความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติของผู้ดูแลผู้ป่วยพบว่าผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ในการดูแลแผลกดทับในระดับดี มีทัศนคติระดับดีมากต่อการดูแลผู้ป่วย และมีทักษะในการทำแผล การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย สามารถปฏิบัติได้ในระดับดี วิธีการดูแลผู้ป่วยต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ดูแลโดยการให้ความรู้และเสริมพลังให้ผู้ดูแลสามารถปฏิบัติได้ จากผลการติดตามเยี่ยมบ้านไม่พบการเกิดแผลกดทับขึ้นใหม่ในผู้ป่วยที่จำหน่ายออกจากโรงพยาบาล การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าการป้องกันการเกิดแผลกดทับเป็นการดูแลรักษาแผลกดทับในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยเป็นวิธีที่ดีที่สุด โดยให้การดูแลอย่างเป็นองค์รวมตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารักษาในโรงพยาบาล การมีส่วนร่วมและสร้างเสริมพลังของญาติในการดูแลผู้ป่วย การเฝ้าระวังการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล การใช้อุปกรณ์รองปุ่มกระดูกจากใยมะพร้าว สามารถช่วยลดอุบัติการณ์การเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองลงได้ และช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาผู้ป่วย นอกจากนี้การดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องตามแนวทางของเวชศาสตร์ครอบครัว โดยการติดตามเยี่ยมบ้านจะทำให้เกิดผลการรักษาที่ดีth_TH
dc.format.extent233557 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleบทบาทของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในการป้องกันผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเกิดแผลกดทับen_US
dc.title.alternativeRole of Family Physicians in Preventing Disabled Stroke Patients from Developing Pressure Soresen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to determine an appropriate way to prevent bedsores in disabled stroke patients while they are still hospitalized. All stroke patients admitted to the Internal Medicine ward in Sichon District Hospital during the period January 2005 - December 2006 were enrolled into this study. Data collection included demographic data, and information on occurrence and details of the bedsores. We invented a new care protocol and equipment to prevent pressure sores. A comparison of the results of care before and after the use of these interventions in the target group was the outcome measured. During 2005, the incidence of bedsores in stroke patients was 18.37 percent. After the new strategies in caring and monitoring had been introduced, the incidence decreased by 5.36 percent in 2006. The knowledge, attitude and practice of caregivers, which included nursing personnel and patients’ relatives, increased; moreover, they tended to participate more in taking care of their patients. The most common pressure ulcer locations were the coccyx and the sacral area. In hospitalized patients, most pressure ulcers were facility-acquired, so we created new equipment from local products, i.e. pillows made from the inner skin of dried coconut in order to support the at-risk surfaces and decrease the pressure on the skin. New strategies in caring and monitoring bedsores included education, empowerment of caregivers and team work. All patients were followed up, and home visits by the family physician and his/her team were made; no new bedsores were found to have occurred in their homes. This study demonstrated that the best way to treat pressure sores in disabled CVA patients is to prevent those conditions in the first place. Given current evidence, using support surfaces, repositioning the patient, optimizing the nutritional status of the patients, and moisturizing the skin were all strategies that prevented pressure ulcers. Caregivers should be empowered to take care of their patients during the entire period of their entire hospital admission. Family physicians should strive to integrate both holistic care and continuity of care for the patients and their families.en_US
dc.subject.keywordแผลกดทับen_US
dc.subject.keywordโรคหลอดเลือดสมองen_US
dc.subject.keywordโรงพยาบาลชุมชนen_US
dc.subject.keywordPreventionen_US
dc.subject.keywordPressure Soreen_US
dc.subject.keywordStrokeen_US
.custom.citationเอกรัฐ จันทร์วันเพ็ญ and Ekarat Chanwanpen. "บทบาทของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในการป้องกันผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเกิดแผลกดทับ." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/256">http://hdl.handle.net/11228/256</a>.
.custom.total_download758
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month5
.custom.downloaded_this_year20
.custom.downloaded_fiscal_year48

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v2n1 ...
Size: 232.5Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

Show simple item record