Show simple item record

A Preliminary Study on Hemostatic Efficacy Comparing Chitosan Derivative-based Material and Two Commercial Materials in Split-thickness Skin Graft Wound Sites

dc.contributor.authorไพโรจน์ สุรัตนวนิชen_US
dc.contributor.authorPairoj Surattanawanichen_US
dc.contributor.authorวนิดา จันทร์วิกูลen_US
dc.contributor.authorWanida Janvikuen_US
dc.contributor.authorบุญล้อม ถาวรยุติการต์en_US
dc.contributor.authorBoonlom Thavornyutikarnen_US
dc.contributor.authorวาสนา โคสอนen_US
dc.contributor.authorWasana Kosornen_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-07-31T08:44:05Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:03:30Z
dc.date.available2009-07-31T08:44:05Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:03:30Z
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 3,1(ม.ค.-มี.ค.2552) : 69-75en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2586en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการห้ามเลือดของวัสดุห้ามเลือดจากอนุพันธ์ไฆโทซานกับวัสดุทางการค้า 2 ชนิด คือ SPONGOSTANStandard และ Algisite-M ในแผลผู้ป่วยที่เกิดจากการตัดผิวหนังเพื่อถ่ายปลูก 8 คน ที่โรงพยาบาลอ่างทอง จ.อ่างทอง ในช่วงเดือนมิถุนายน 2551 - พฤศจิกายน 2551 โดยทำการปิดวัสดุบนแผลแบบสุ่มจากปลายเท้าไปทางศีรษะ ปิดทับวัสดุด้วยผ้าก๊อซ และกดทับวัสดุทั้งหมดด้วยมืออย่างเบาๆ 5 และ 8 นาที สังเกตการหยุดไหลของเลือดเมื่อถึงเวลาที่กำหนด และหลังจากเปิดแผลทิ้งไว้ 30 วินาที พร้อมทั้งบันทึกภาพบาดแผลที่เวลา 5 นาที, 5 นาที 30 วินาที, 8 นาที และ 8 นาที 30 วินาที และบันทึกน้ำหนักของวัสดุทดสอบและผ้าก๊อซหลังการทดสอบ เพื่อคำนวณหาปริมาณเลือดที่สูญเสีย จากการศึกษาพบว่า ปริมาณเลือดที่สูญเสียที่วัดได้ในวัสดุทดสอบเรียงลำดับจากน้อยไปมาก พบในแผลที่ปิดด้วย SPONGOSTANStandard, Algisite-M และ วัสดุห้ามเลือดต้นแบบของ MTEC ในขณะที่ปริมาณเลือดที่สูญเสียที่วัดได้ในผ้าก๊อซที่ปิดทับวัสดุทดสอบเรียงลำดับจากน้อยไปมาก พบในแผลที่ปิดด้วยวัสดุห้ามเลือดต้นแบบของ MTEC, SPONGOSTANStandard และ Algisite-M.แต่โดยรวมแล้วปริมาณเลือดที่สูญเสียรวมไม่มีความแตกต่างในระหว่างกลุ่มทดสอบโดยนัยสำคัญทางสถิติ แต่จากการสังเกตและบันทึกภาพผลการห้ามเลือกที่เวลา 8 นาที พบว่า ในขณะที่เปิดแผลทิ้งไว้เป็นเวลา 30 วินาที แผลที่ปิดด้วยวัสดุห้ามเลือดต้นแบบของ MTEC มีเลือดซึมออกมาปริมาณน้อยมาก เมื่อเทียบกับแผลที่ปิดด้วยวัสดุทางการค้าทั้ง 2 ชนิดth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent505407 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการห้ามเลือดen_US
dc.subjectเลือด--การแข็งตัวen_US
dc.titleประสิทธิภาพการห้ามเลือดที่แผลผิวหนังตัดเพื่อการถ่ายปลูก เปรียบเทียบวัสดุอนุพันธ์ไฆโทซานกับวัสดุทางการค้า : การศึกษาเบื้องต้นen_US
dc.title.alternativeA Preliminary Study on Hemostatic Efficacy Comparing Chitosan Derivative-based Material and Two Commercial Materials in Split-thickness Skin Graft Wound Sitesen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this clinical preliminary study was to evaluate the hemostatic efficacy of a chitosan derivative-based hemostat prototype (MTEC prototype), compared with that of two commercial materials, SPONGOSTAN@ Standard and Algisite-M, in split-thickness skin graft donor sites. The study was conducted at Ang Thong Hospital in Ang Thong Province involving eight patients who underwent skin grafting during the period June-November 2008. The three tested materials were randomly put on wound sites from the direction of the patients’ toes to their heads. Gauze was placed on top of the materials. To secure the materials, they were gently pressed by hand. Bleeding was visually observed and the wound sites were photographed at 5 and 8 minutes. At each time point, the wounds were uncovered for 30 seconds for the observation of blood ooze. The wounds were photographed again at 5 1/2 and 8 1/2 minutes. At last, the materials and gauze were weighed for the determination of blood loss. The results revealed that the amount of blood loss found in the materials was in the following order: SPONGOSTAN@ Standard < Algisite-M < MTEC prototype, while the amount of blood loss found in the gauze was in the following order: MTEC prototype < SPONGOSTAN@ Standard < Algisite-M. Nonetheless, there were no significant differences in the total amount of blood loss when the wound sites were treated with these three materials. From visual observation, the MTEC prototype, however, seemed to stop the bleeding most efficiently as determined by the least blood ooze apparent at 8 1/2 minutes.en_US
dc.subject.keywordประสิทธิภาพการห้ามเลือดen_US
dc.subject.keywordแผลผิวหนังตัดเพื่อการถ่ายปลูกen_US
dc.subject.keywordวัสดุอนุพันธ์ไฆโทซานen_US
dc.subject.keywordHemostatic Efficacyen_US
dc.subject.keywordchitosan derivative-based materialen_US
dc.subject.keywordAlgisite-Men_US
.custom.citationไพโรจน์ สุรัตนวนิช, Pairoj Surattanawanich, วนิดา จันทร์วิกูล, Wanida Janviku, บุญล้อม ถาวรยุติการต์, Boonlom Thavornyutikarn, วาสนา โคสอน and Wasana Kosorn. "ประสิทธิภาพการห้ามเลือดที่แผลผิวหนังตัดเพื่อการถ่ายปลูก เปรียบเทียบวัสดุอนุพันธ์ไฆโทซานกับวัสดุทางการค้า : การศึกษาเบื้องต้น." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2586">http://hdl.handle.net/11228/2586</a>.
.custom.total_download802
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month15
.custom.downloaded_this_year36
.custom.downloaded_fiscal_year52

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v3n1 ...
Size: 498.2Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record