แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การปรับด้านจิตสังคมของสตรีวัยใกล้หมดระดู โรงพยาบาลโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร

dc.contributor.authorสุวรรณา ต่อมยิ้มen_US
dc.contributor.authorSuwanna Tomyimen_US
dc.contributor.authorเยาวลักษณ์ เมืองทองen_US
dc.contributor.authorYaowalak Mueangthongen_US
dc.coverage.spatialพิจิตรen_US
dc.date.accessioned2008-10-01T10:40:52Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:22Z
dc.date.available2008-10-01T10:40:52Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:22Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551), (ฉบับเสริม 4) : 959-964en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/264en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาเพื่อศึกษาการปรับด้านจิตสังคมของสตรีวัยใกล้หมดระดูที่มาใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร ใน พ.ศ. 2550 จำนวน 89 ราย ใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และการปรับด้านจิตสังคมในระยะใกล้หมดระดู จากการศึกษาพบว่าสตรีวัยใกล้หมดระดูมีคะแนนการปรับด้านจิตสังคมโดยรวมอยู่ในระดับดีร้อยละ 53.93 และในระดับไม่ดีร้อยละ 46.07 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่ามีการปรับทางจิตสังคมในระดับดี ทางด้านสภาพแวดล้อมเกี่ยวกับอาชีพ สภาพแวดล้อมภายในบ้าน สภาพแวดล้อมทางสังคม และความไม่สุขสบายทางใจ ร้อยละ 59.55, 51.69, 62.92 และ 55.06 ตามลำดับ และมีการปรับด้านจิตสังคมในระดับไม่ดูแลสุขภาพ สัมพันธภาพทางเพศ และสัมพันธภาพกับครอบครัวขยายร้อยละ 51.69 เท่ากัน ผลการศึกษาครั้งนี้ทำให้ได้ข้อมูลเบื้องต้นเพื่อไปวางแผนการรักษาพยาบาล การให้การปรึกษาและเป็นแนวทางในการส่งเสริมให้สตรีวัยใกล้หมดระดูมีการปรับด้านจิตสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปth_TH
dc.format.extent160879 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการปรับด้านจิตสังคมของสตรีวัยใกล้หมดระดู โรงพยาบาลโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตรen_US
dc.title.alternativePsychosocial Adjustment among Perimenopausal Women Attending Proprathabchang Hospital, Phichit Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis descriptive research was carried out to study psychosocial adjustment during the perimenopausal period of women. The subjects were 89 married women in the perimenopausal period who visited the outpatient department of Phoprathapchang Hospital, Phichit Province, in 2007. The study used a questionnaire consisting of two parts: personal data record and psychosocial adjustment in the perimenopausal period. The results showed that 53.93 percent of perimenopausal women reported overall psychosocial adjustment at a good level and 46.07 percent at a poor level. In considering each aspect, the aspects of the vocational environment, domestic environment, social environment and psychological distress were at good levels, i.e., 59.55, 51.69, 62.92 and 55.06 percent, respectively, while the aspects of health-care orientation, sexual relationship and extended family relationship were at a poor level of 51.69 percent. The results of this study could be utilized as basic information in planning care, counseling and for enhancing psychosocial adjustment for the well-being of the perimenopausal women.en_US
dc.subject.keywordการปรับด้านจิตสังคมen_US
dc.subject.keywordสตรีวัยใกล้หมดระดูen_US
dc.subject.keywordPsychosocial Adjustmenten_US
dc.subject.keywordPerimenopausal Womenen_US
.custom.citationสุวรรณา ต่อมยิ้ม, Suwanna Tomyim, เยาวลักษณ์ เมืองทอง and Yaowalak Mueangthong. "การปรับด้านจิตสังคมของสตรีวัยใกล้หมดระดู โรงพยาบาลโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/264">http://hdl.handle.net/11228/264</a>.
.custom.total_download398
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month5
.custom.downloaded_this_year18
.custom.downloaded_fiscal_year25

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n1 ...
ขนาด: 161.5Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย