Show simple item record

The Development of Indicators of Good Governance Management of the Provincial Public Health Office

dc.contributor.authorวลัยภรณ์ อัตตะนันทน์en_US
dc.contributor.otherValaiporn Attanandanaen_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-10-15T04:02:33Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:03:53Z
dc.date.available2009-10-15T04:02:33Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:03:53Z
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 3,2(เม.ย.-มิ.ย.2552) : 232-241en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2758en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษากรอบแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับธรรมาภิบาลของหน่วยบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับพื้นที่ จัดทำหรือสร้างตัวชี้วัดธรรมาภิบาลการบริหารจัดการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่สามารถใช้เป็นเครื่องมือประเมินและพัฒนาธรรมาภิบาลขององค์กร และประเมินระดับธรรมาภิบาลการบริหารจัดการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดใน 4 จังหวัดนำร่อง คือ เชียงใหม่ กระบี่ ชลบุรี และนครปฐม การศึกษาทำโดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ รายงานประจำปี เอกสารที่เกี่ยวข้อง และแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ แบบสอบถาม 3 ชุด คือ แบบสอบถามชุด จ ซึ่งมี 50 ตัวชี้วัด ชุด ฉ มี 11 ตัวชี้วัด ชุด น มี 37 ตัวชี้วัด เพื่อใช้ประเมินระดับธรรมาภิบาลการบริหารจัดการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด การประเมินแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นการประเมินความคิดเห็นของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ภายในของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 86 ราย โดยใช้แบบสอบถามชุด จ ประกอบกับการประเมินจากข้อมูลจริงที่เป็นการเฉพาะจากเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบโดยตรงด้วย แบบสอบถามชุด ฉ และส่วนที่ 2 เป็นการประเมินความคิดเห็นจากเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 185 ราย โดยใช้แบบสอบถามชุด น ทั้งนี้เป็นการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างด้วยสถิติเชิงพรรณนา และทดสอบคะแนนเฉลี่ยโดยการทดสอบที จากการศึกษาพบว่าผลการประเมินระดับธรรมาภิบาลการบริหารจัดการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้ง 4 แห่ง โดยผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ภายในของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอยู่ในระดับสูง และมีจุดเด่นในหลักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หลักความคุ้มค่า และหลักนิติธรรม ผลการประเมินโดยเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ชลบุรี และนครปฐม มีธรรมาภิบาลการบริหารจัดการอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนจังหวัดกระบี่มีธรรมาภิบาลการบริหารจัดการอยู่ในระดับสูง และสำนักงานสาธารณสุขทั้ง 4 แห่งมีจุดเด่นในหลักความโปร่งใส อย่างไรก็ตามผลการประเมินจากทั้ง 2 ส่วน พบว่ามีจุดที่ควรพัฒนาในหลักการบริหารจัดการ หลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และหลักการมีส่วนร่วม ดังนั้น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจึงควรพิจารณาปรับปรุงการดำเนินการในทั้ง 3 หลักดังกล่าว เช่น จัดทำระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหาร จัดการฝึกอบรมโดยมีระบบจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อพัฒนาบุคลากร และรับฟังข้อมูลย้อนกลับจากผู้ที่เกี่ยวข้องภายนอกและภาคประชาชนเพื่อนำไปปรับปรุงการดำเนินการth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent228580 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleการพัฒนาตัวชี้วัดธรรมาธิบาลการบริหารจัดการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดen_US
dc.title.alternativeThe Development of Indicators of Good Governance Management of the Provincial Public Health Officeen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are to study a conceptual framework for a theory concerning good governance of health system management in local areas, to create good governance indicators regarding provincial public health office management, which can then be implemented as a tool to evaluate and further develop the organization’s effective governance and also evaluate the level of good governance management of the provincial public health offices in the four pilot provinces: Chiang Mai, Krabi, Cholburi, and Nakhon Pathom. Analysis is done by secondary data, such as annual reports, and related documents, and primary data which were obtained from a questionnaire using three sets: the first set was evaluated by internal officials within the agencies and consisted of 50 indicators, the second set was evaluated by officials with specific functions and contained 11 indicators; and the third set was evaluated by related agencies and consisted of 37 indicators for evaluating good governance management. The evaluation was divided into two parts: the first part was evaluated from the first and the second set of questionnaires by 86 internal officials and the second part was evaluated from the third set of questionnaires by 184 related agency officials. Purposive sampling was used to collect the primary data. Descriptive statistics were used to analyze the data and t-test used to compare the average scores. The findings based on the evaluations concerning management of the four provincial public health offices, as evaluated by the internal officials, revealed high levels of good governance management. There was an especially remarkable score shown in the Principle of Information Technology and Communication, the Principle of Value for Money, and the Principle of Rule of Law. The evaluation results for good governance management of the provincial public health offices by the agencies related to the provincial public health office of Chiang Mai, Cholburi, and Nakhon Pathom revealed that good governance management was moderate. For the Krabi provincial public health office, good governance management was rated as high. For all four provincial public health offices, the Principle of Transparency was found to have the most significant rating. In considering the evaluation by the internal officials and related agencies, the results showed that development was still required regarding the Principle of Management, the Principle of Human Resources Development, and the Principle of Participation. Thus, it would be appropriate for each provincial public health office to consider improving its work standards in line with a systematic evaluation of administrators’ work performance. Training programs should be established along with an incentive system for personnel participation and successful official development. Finally, listening to feedback from the outside agencies concerned could help to improve work performance.en_US
dc.subject.keywordตัวชี้วัดen_US
dc.subject.keywordธรรมาธิบาลen_US
dc.subject.keywordสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดen_US
dc.subject.keywordIndicatorsen_US
dc.subject.keywordGood Governanceen_US
dc.subject.keywordProvincial Public Health Officeen_US
.custom.citationวลัยภรณ์ อัตตะนันทน์. "การพัฒนาตัวชี้วัดธรรมาธิบาลการบริหารจัดการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2758">http://hdl.handle.net/11228/2758</a>.
.custom.total_download1370
.custom.downloaded_today2
.custom.downloaded_this_month8
.custom.downloaded_this_year24
.custom.downloaded_fiscal_year38

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v3n2 ...
Size: 227.6Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1333]
    บทความวิชาการ

Show simple item record