Show simple item record

Effectiveness of Cardiovascular Risk Reduction Model of Nongkhoon Primary Care Unit, Amphur Watsing, Chai Nat Province

dc.contributor.authorธวัชชัย แต้ประยูรen_US
dc.contributor.authorTawatchai Taeprayoonen_US
dc.coverage.spatialชัยนาทen_US
dc.date.accessioned2008-10-01T10:45:21Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:23Z
dc.date.available2008-10-01T10:45:21Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:23Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) (ฉบับเสริม 4) : 837-843en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/277en_US
dc.description.abstractโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการตาย 1 ใน 3 อันดับแรกตลอดมาทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยและจังหวัดชัยนาท การวิจัยนี้เป็นแบบกึ่งทดลองกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังดำเนินการ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการลดความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดของศูนย์สุขภาพชุมชนหนองขุ่น อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท กลุ่มตัวอย่างคือประชาชนที่อยู่ในเขตความรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนหนองขุ่น อายุ 35-60 ปี ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย 129 คน ใช้แบบสัมภาษณ์เก็บข้อมูลก่อนดำเนินการในเดือนมีนาคม 2549 และหลังดำเนินการในเดือนกันยายน 2549 สถิติที่ใช้ประกอบด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติอนุมาน ได้แก่ การทดสอบทีจับคู่ และการวิเคราะห์การถดถอยแบบเส้นตรงพหุคูณ การวิจัยพบว่าก่อนและหลังดำเนินการกลุ่มตัวอย่างมีระดับแรงดันเลือดและดัชนีมวลกายปรกติ ผู้ชายมีความเสี่ยงทางสุขภาพระดับต่ำ และผู้หญิงมีความเสี่ยงทางสุขภาพระดับสูง ก่อนดำเนินการ กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อหลีกเสี่ยงภาวะเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในระดับต่ำ หลังดำเนินการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ด้านความสัมพันธ์พบว่าปัจจัยที่ศึกษาทุกตัวซึ่งประกอบด้วยสภาพร่างกาย (แรงดันเลือด ดัชนีมวลกาย) ความเสี่ยงทางสุขภาพ และการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ก่อนและหลังดำเนินการมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าพี < 0.05) และพบว่าปัจจัยที่สามารถนำไปใช้พยากรณ์ในการลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดมีเพียงปัจจัยเดียว คือ ดัชนีมวลกายที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าพี 0.002) ซึ่งทำนายผลได้ถูกต้องร้อยละ 19.3 จากผลการวิจัยได้ข้อเสนอแนะคือ ควรดำเนินงานด้านดัชนีมวลกายเพื่อลดความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยทุกหน่วยสถานบริการของรัฐต้องเร่งรัดงานสร้างเสริมสุขภาพ โดยเฉพาะการป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดให้เป็นรูปธรรม ตามนโยบายหลักของกระทรวงสาธารณสุข คือ การสร้างสุขภาพนำการซ่อมสุขภาพth_TH
dc.format.extent169295 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleประสิทธิผลของรูปแบบการลดความเสี่ยงโรคหัวใจ และหลอดเลือด ศูนย์สุขภาพชุมชนหนองขุ่น อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาทen_US
dc.title.alternativeEffectiveness of Cardiovascular Risk Reduction Model of Nongkhoon Primary Care Unit, Amphur Watsing, Chai Nat Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeCardiovascular diseases are among the three most important causes of death worldwide, including in Thailand and in Chai Nat Province. This one-group prepost test design of quasi-experimental research was conducted in order to study the effectiveness of the cardiovascular risk reduction model of Nongkhoon Primary Care Unit, Amphur Watsing, Chai Nat Province. The study sample included 129 residents aged 35 to 60 years, living in the vicinity under the responsibility of the Nongkhoon Primary Care Unit; they were selected by simple random sampling. Data were collected using questionnaires, i.e., the pre-test data were collected in the month of March 2006 and post-data in September 2006. The statistical analyses were descriptive, such as percentage, arithmetic mean and standard deviation, and analytic statistics by paired t-test and multiple regression. The results revealed that pre- and post-data disclosed that all samples had normal blood pressure and body mass index. Men had a low health risk, while women had a high health risk. Pre-test data denoted a low level of self-care practice for prevention of cardiovascular risks and post-test data had a medium level. All parameters, i.e., blood pressure, body mass index, health risks and the practice of self-care for reducing cardiovascular risks both pre- and post-data, yielded significant correlations at a p-value ofen_US
dc.subject.keywordรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.subject.keywordความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดen_US
dc.subject.keywordCardiovascular Rick Reduction Modelen_US
dc.subject.keywordCardiovascular Diseasesen_US
.custom.citationธวัชชัย แต้ประยูร and Tawatchai Taeprayoon. "ประสิทธิผลของรูปแบบการลดความเสี่ยงโรคหัวใจ และหลอดเลือด ศูนย์สุขภาพชุมชนหนองขุ่น อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/277">http://hdl.handle.net/11228/277</a>.
.custom.total_download559
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month7
.custom.downloaded_this_year28
.custom.downloaded_fiscal_year42

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v2n1 ...
Size: 169.9Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record