Show simple item record

Introduction and Development of an Addiction Rehabilitation Program in Bangphli Hospital, Samut Prakan Province

dc.contributor.authorวันชัย พิสาลสินen_US
dc.contributor.authorWanchai Pisarnsinen_US
dc.contributor.authorอุดมลักษณ์ เนื่องแสงen_US
dc.contributor.authorUdomlak Nuengsaengen_US
dc.contributor.authorจันทรกานต์ ปราบสงบen_US
dc.contributor.authorChantarakarn Prabsagnoben_US
dc.coverage.spatialสมุทรปราการen_US
dc.date.accessioned2008-10-01T10:47:39Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:55:13Z
dc.date.available2008-10-01T10:47:39Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:55:13Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,1 (ม.ค.-มี.ค. 2551) (ฉบับเสริม 4) : 901-906en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/285en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินรูปแบบการจัดระบบการบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพสารเสพติดในหน่วยบริการปฐมภูมิเครือข่ายสุขภาพในโรงพยาบาลบางพลี และพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในการบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพสารเสพติด วิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยโรงพยาบาลบางพลีเป็นโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพงานยาเสพติด และได้พัฒนาคุณภาพบริการด้านยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง ได้วิเคราะห์สถานการณ์ยาเสพติดในพื้นที่อำเภอบางพลี พบปัญหายาเสพติดในพื้นที่มีระดับความรุนแรง กล่าวคือ มีจำนวนผู้เสพสารเสพติดเพิ่มมากขึ้นและผู้เสพสารเสพติดใช้ยาอย่างต่อเนื่องและกลายเป็นผู้ติดสารเสพติด ดังนั้นโรงพยาบาลบางพลีจึงได้จัดระบบการบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพสารเสพติด/ผู้ติดสารเสพติด ให้สอดคล้องกับปัญหาที่เปลี่ยนแปลงไป โดยทำการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพสารเสพติดอย่างต่อเนื่อง รูปแบบการบำบัดใช้แบบจิตสังคมบำบัดผู้ป่วยนอก ร่วมกับการปรับพฤติกรรมรู้คิด โดยมีทีมผู้บำบัดสารเสพติดโรงพยาบาลบางพลีเป็นทีมนิเทศและทีมพี่เลี้ยงทุกครั้งจนจบโปรแกรมการบำบัด การประเมินผลใช้ตัวชี้วัดตามเกณฑ์มาตรฐานการบำบัดของสถาบันธัญญรักษ์ โดยร้อยละ 60 ของผู้เสพสารเสพติดรับการบำบัดจนครบโปรแกรม ร้อยละ 60 ของผู้ผ่านการบำบัดไม่กลับไปเสพสารซ้ำ และร้อยละ 60 ของผู้ผ่านการบำบัดสามารถกลับไปทำงาน/ศึกษาต่อได้ จากการศึกษาพบว่าการจัดระบบการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพสารเสพติดในเครือข่ายสุขภาพโรงพยาบาลบางพลีเป็นรูปแบบที่มีประสิทธิภาพ เหมาะและสอดคล้องกับสภาพปัญหาที่เปลี่ยนแปลงไป โดยร้อยละ 88.89 ของผู้เสพสารรับการบำบัดครบโปรแกรม ร้อยละ 100 ของผู้ผ่านการบำบัดไม่กลับไปเสพยาซ้ำ และร้อยละ 100 ของผู้ผ่านการบำบัดสามารถกลับไปทำงาน/ศึกษาต่อได้ และได้รับการยอมรับจากครอบครัวชุมชนและสังคมth_TH
dc.format.extent146421 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธาณสุขen_US
dc.titleการพัฒนาระบบการบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพสารเสพติด ในเครือข่ายสุขภาพโรงพยาบาลบางพลีen_US
dc.title.alternativeIntroduction and Development of an Addiction Rehabilitation Program in Bangphli Hospital, Samut Prakan Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to assess the addiction rehabilitation model (adopting the matrix-intensive outpatient program - IOP) in the primary care units of Bangphli Contracting Unit of Primary Care (CUP). The capacity of the primary care unit’s health care workers has been developed to implement this model. This action research was completed by Bangphli Hospital. The program follows the matrix-intensive outpatient program, which features cognitive - behavioral therapy. The Bangphli Hospital therapist team oversees and advises all the other primary care units involved in this program. The therapist team monitors every session of the program. Their results are evaluated by using the standard criteria from the Thanyarak Institute. These criteria require the involvement of at least 60 percent of those who attended and completed the program, and 60 percent of those who attended being non-relapsing, and who returned to work or school. The results of the study revealed that implementing and pursuing this addiction rehabilitation program has been an effective solution for the drug addiction problem. The primary care units monitored were found to have exceeded these criteria by having 88.89 percent of the patients completing the matrix program and 100 percent of those did not relapse but returned to work or school. These patients returned to their communities and were welcomed by their families.en_US
dc.subject.keywordสารเสพติดen_US
dc.subject.keywordคุณภาพบริการen_US
dc.subject.keywordบริการทางการแพทย์en_US
.custom.citationวันชัย พิสาลสิน, Wanchai Pisarnsin, อุดมลักษณ์ เนื่องแสง, Udomlak Nuengsaeng, จันทรกานต์ ปราบสงบ and Chantarakarn Prabsagnob. "การพัฒนาระบบการบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพสารเสพติด ในเครือข่ายสุขภาพโรงพยาบาลบางพลี." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/285">http://hdl.handle.net/11228/285</a>.
.custom.total_download1636
.custom.downloaded_today2
.custom.downloaded_this_month66
.custom.downloaded_this_year163
.custom.downloaded_fiscal_year256

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v2n1 ...
Size: 147.4Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record