แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลของหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ : กรณีศึกษาสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข

dc.contributor.authorเดชรัต สุขกำเนิดen_US
dc.contributor.authorรุ่งทิพย์ สุขกำเนิดen_US
dc.contributor.authorDecharut Sukkumnoeden_EN
dc.contributor.authorRungthip Sukkumnoeden_EN
dc.date.accessioned2010-07-21T02:51:40Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:05:54Z
dc.date.available2010-07-21T02:51:40Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:05:54Z
dc.date.issued2553-03en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 4,1(ม.ค.-มี.ค.2553) : 63-72en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2957en_US
dc.description.abstractโครงการพัฒนาดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและเครือข่าย เพื่อกำหนดกรอบการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล พัฒนาดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาล การศึกษาความเหมาะสมและอุปสรรคของดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลที่พัฒนาขึ้น ตลอดจนวางแนวทางการจัดเก็บข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภบาลของหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ การดำเนินงานเริ่มจากการศึกษาทบทวนทฤษฏี แนวคิดและผลงานการศึกษาวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับธรรมาภิบาลและดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลสำหรับหน่วยบริหารจัดการงานวิจัย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวข้อง และผู้บริหารหน่วยบริหารจัดการงานวิจัย และเจ้าหน้าที่ วิเคราะห์ข้อมูล สร้างและทดสอบแบบสอบถาม ทดลองใช้ร่างดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และปรับปรุงแก้ไขดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาล จากผลการศึกษาทำให้ได้กรอบแนวคิดที่สำคัญในการพัฒนาตัวชี้วัด 2 ประการ : (1) การยึดหลักธรรมาภิบาล 6 ประการคือ นิติรัฐ, ความโปร่งใส, ความคุ้มค่า, การมีส่วนร่วม, คุณภาพ และความพร้อมรับผิด ; (2) นำหลัก 6 ประการดังกล่าวมาใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติการตามหลักธรรมาภิบาลใน 5 ขั้นตอนของการจัดการงานวิจัยของสวรส. ผลการประเมินธรรมาภิบาลของสวรส.โดยภาพรวมพบว่า ผลยู่ในระดับสูง โดยขั้นตอนการระดมและจัดสรรทรัพยากรอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือ การวางแผนการจัดการงานวิจัย ส่วนขั้นตอนการกำหนดนโยบาย การใช้ประโยชน์จากงานวิจัย และการดำเนินการวิจัยมีค่าอยู่ในระดับปานกลางen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลของหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ : กรณีศึกษาสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.title.alternativeGood Governance Index for the Health Systems Research Management Unit: A Case Study of the Health Systems Research Instututeen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe project for developing a good governance index is a part of the developing research management system of the Health Systems Research Institute (HSRI) and its research alliances. The objectives of this project are to (a) define the framework for monitoring and evaluating project administration in accordance with good governance practices; (b) develop good governance index; (c) study the appropriateness of the developed index and the perceived barriers; (d) set a guideline to gather essential data for project performance evaluation, which is based on the principle of good governance for the research management team in the health system. The process of this project began with (a) reviewing theories, concepts, and research reports related to good governance practices and its index both domestically and internationally; (b) interviewing experts from related disciplines, and research managements; (c) developing and testing a questionnaire and then analyzing the data obtained; (d) using the drafted good governance index to conduct an internal pilot test with Health Systems Research Institute, and (e) reviewing the index and modifying it to make it more suitable. The results of this study indicated that two crucial conceptual frameworks of index development emerged, with the first conforming to the six good governance practices, namely the rule of law, transparency, worthiness, participation, quality, and accountability, and the second applying those practices to the five steps of the research management process. The outcome of evaluating the Health Systems Research Institute’s good governance practices has been depicted overall at the organizational level, where HSRI has high levels of good governance practices. When considered the perspective of the five research management processes, the process of gathering and allocating resources gains the highest level of engaging good governance practices; it is followed by the process of planning research management. Other research management processes were evaluated and their utilization of good governance practices was found to be at the middle level.en_US
dc.subject.keywordGood Governanceen_US
dc.subject.keywordธรรมาภิบาลen_US
dc.subject.keywordความเป็นธรรมen_US
.custom.citationเดชรัต สุขกำเนิด, รุ่งทิพย์ สุขกำเนิด, Decharut Sukkumnoed and Rungthip Sukkumnoed. "ดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลของหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ : กรณีศึกษาสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2957">http://hdl.handle.net/11228/2957</a>.
.custom.total_download914
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month12
.custom.downloaded_this_year24
.custom.downloaded_fiscal_year39

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v4n1 ...
ขนาด: 371.3Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย