Now showing items 726-745 of 1326

    • ถอดบทเรียนการจัดการแข่งขันกีฬานานาชาติในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 

      ปรีชาพล ปึ้งผลพูล; Preechapol Puengpholpool; ไอรินลดา วิศิษฎ์พรกุล; Irinlada Wisitphonkul; ณัฐทิชา หงษ์สามสิบหก; Natticha Hongsamsibhok; อนุวัฒน์ รัสมะโน; Anuwat Ratsamano; ปัทมาภรณ์ เครือหงษ์; Patthamaporn Khruahong; จริยา ดาหนองเป็ด; Chariya Danongped; นันนภัส กันตพัตชญานนท์; Nannaphat Kantaphatchayanon; ธีรพล ใจกล้า; Theerapon Jaikla; สุภนุช ทรงเจริญ; Supanuch Shongcharoen; จักรกฤษณ์ ปานแก้ว; Jakkit Pankaew; จันทร์จิรา เสนาพรม; Junjira Sanaprom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      การถอดบทเรียนครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการดำเนินงานด้วยวิธีการทบทวนเอกสารและศึกษาประสบการณ์ดำเนินงานจากเรื่องเล่าของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนที่เต็มใจให้ข้อมูล จำนวน 50 คน ผ่านการสัม ...
    • ทบทวนการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542-2550 

      ปรีดา แต้อารักษ์; Preeda Taearrak; นิภาพรรณ สุขศิริ; Niphapan Suksiri; รำไพ แก้ววิเชียร; Ramphai Kaewwichian; กิรณา แต้อารักษ์; Kirana Tae-arruk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)
      การทบทวนเรื่องนี้เพื่อศึกษาความเป็นมา สถานการณ์และบริบทต่างๆ ของการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข รวมทั้งเสนอแนะการดำเนินการก่อนการทดลองถ่ายโอนสถานีอนามัยให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ทบทวนจากเอกสารการดำเนินงาน ข่าวสาร ...
    • ทบทวนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ มาตรการทำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน 

      สุรศักดิ์ บูรณตรีเวทย์; Surasak Buranatrevedh; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarunkul; ณรงค์ภณ ทุมวิภาต; Narongpon Dumavibhat; เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์; Chalermchai Chaikittiporn; วันทนี พันธุ์ประสิทธิ์; Wantanee Phanprasit; สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์; Somkiat Siriruttanapruk; ชุลีกร ธนธิติกร; Chuleekorn Thanathitikorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)
      แร่ใยหินทุกชนิดเป็นสารก่อมะเร็ง มีผลต่อสุขภาพทั้งคนงานที่ทำงานสัมผัสแร่ใยหินและประชาชนทั่วไป แม้จะมีมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 3 (พ.ศ. 2553) เรื่องมาตรการทำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน และคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 12 ...
    • ทบทวนวรรณกรรมธรรมาธิบาลในระบบสุขภาพ 

      มานวิภา อินทรทัต; Manvipa Indradat; อาจยุทธ เนติธนากูล; Ardyuth Natithanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ด้วยเป้าหมายหลักของการพัฒนาระบบสุขภาพไทย คือ การมีธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพให้สมดุล และยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาวะที่ดี การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ ...
    • ทฤษฎี 

      สุรเกียรติ อาชานานุภาพ (2551-12-04)
      เข้าสู่แนวคิดและจุดมุ่งหมายของการวิจัยระบบสาธารณสุขที่ถ่ายทอดจากงานเขียนของนักวิจัยระบบสาธารณสุขแห่งเบลเยี่ยม
    • ทฤษฎีและกรอบแนวคิดของการวิจัยเพื่อนำนโยบายสาธารณสุขไปสู่การปฏิบัติ: การวิจัยอย่างเป็นระบบเพื่อค้นหากลยุทธ์การปฏิบัติตามนโยบายที่มีประสิทธิภาพ 

      ศิรินาถ ตงศิริ; Sirinart Tongsiri; ศุภวิตา แสนศักดิ์; Suprawita Saensak; ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง; Chanuttha Ploylearmsang; วรพจน์ พรหมสัตยพรต; Vorapoj Promsattayaprot; สุมัทนา กลางคาร; Sumattana Klangkan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      การนำสิ่งที่กำหนดไว้ในนโยบายไปปฏิบัติ ต้องการองค์ความรู้ที่แตกต่างไปจากการพัฒนานโยบาย ดังนั้น จึงต้องมีการวิจัยการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ (implementation research: IR) เพื่อพัฒนาวิธีการหรือกลยุทธ์ในการนำนโยบายไปปฏิบัติให ...
    • ทศวรรษหน้ากับการพัฒนาแพทย์ 2540-2550 

      วิทุร แสงสิงแก้ว (2551-12-04)
      บทความชิ้นนี้เป็นคำบรรยายของ นพ.วิทุร แสงสิงแก้ว ปลัดกระทรวงสาธารณสุขในการประชุมวิชาการส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 39 ของแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ณ จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2538 และได้รับอนุญาตให้นำลงเผยแพร่ในวารสารฉบับนี้ ...
    • ทักษะการใช้ขาเทียมและคุณภาพชีวิตของคนพิการสูญเสียขาในจังหวัดลำพูน 

      จิณณ์ฐวัตน์ ใจพงษ์; Jinthawat Jaipong; พรพรรณ์ สมบูรณ์; Pornpun Somboon; นพดล เจนอักษร; Nopadol Chenaksara (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-12)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) ความแตกต่างของทักษะการใช้ขาเทียมเมื่อจำแนกตามสาเหตุการสูญเสียขาและระดับการสูญเสียขาของคนพิการสูญเสียขาในจังหวัดลำพูน 2) ความแตกต่างของคุณภาพชีวิตเมื่อจำแนกตามสาเหตุการสูญเสียขาและระ ...
    • ทัศนคติ อุปสรรค และแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับการประยุกต์หลักความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขในเวชปฏิบัติของแพทย์ไทย 

      วิน เตชะเคหะกิจ; รุ่งโรจน์ ทรัพย์สุนทร; ณัฐวุฒิ ช่วยหอม; มัลลิกา บุญเนียม; นลัท ยิ่งทวีวัฒนา; พริมรตา ชุมศรี; Win Techakehakij; Rungrote Subsoontorn; Nutthawut Chuaihom; Mallika Bunneum; Nalat Yingtaweewattana; Primrata Chumsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      ความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากรทางการแพทย์เป็นสิ่งที่ถูกคำนึงถึงเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขเป็นหลักการหนึ่งที่ช่วยในการวางแผนการจัดสรรทรัพยากรทางการแพทย์ใ ...
    • ทัศนคติและการเลือกงานในชนบทของแพทย์จบใหม่ 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; อภิชาติ จันทนิสร์; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษดา ว่องวิญญู; Nonglak Pagaiya; Viroj Tangcharoensathien; Vijj Kasemsup; Apichart Chantanisr; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สถานการณ์การขาดแคลนแพทย์ เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการขาดแคลนแพทย์ในชนบท งานวิจัยนี้จึงศึกษาทัศนคติและปัจจัยที่ทำให้แพทย์เลือกงานในชนบท โดยการเก็บข้อมูลของบัณฑิตแพทย์กลุ่มที่สำเร็จการศึกษาในปี ...
    • ทัศนะต่อการตรวจคัดกรองโรค 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
    • ทางทะลุติดต่อช่องปากกับโพรงอากาศข้างจมูกบริเวณโหนกแก้ม 

      ปารยะ อาศนะเสน; Paraya Assanasen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ฟิสตุลา คือ ทางทะลุติดต่อระหว่างอวัยวะกลวง 2 อวัยวะ ที่มีเยื่อบุผิวปกคลุม ตามธรรมดาโพรงอากาศข้างจมูกบริเวณโหนกแก้มและช่องปาก ไม่มีทางติดต่อถึงกัน เมื่อเกิดพยาธิสภาพหรือความผิดปรกติจะทำให้มีทางทะลุติดต่อระหว่าง 2 อวัยวะดังกล่าวได้ ...
    • ทางสองแพร่ง (Dilemmas) ประเด็นจริยธรรมในการวิจัยทางสังคมศาสตร์สาธารณสุข 

      อรทัย รวยอาจิณ (2541)
      โดยทั่วไปในการทำวิจัย สิ่งที่นักวิจัยมักจะให้ความสำคัญมากที่สุดก็คือ ความถูกต้องตามหลักระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) และการบริหารงานวิจัยไม่ให้เกิดข้อบกพร่องเพื่อให้ผลการวิจัยสมบูรณ์มากที่สุด ดังนั้น บางครั้งจึ ...
    • ทางสองแพร่งของผู้ต้องขังกับการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข 

      สมศักดิ์ ธรรมธิติวัฒน์ (2541)
      สถานการณ์ทางสองแพร่งของผู้ต้องขัง (Prisoner's Dilemma) ในบริบทของการจัดหาเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขในบทความนี้ หมายถึง สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อผู้กำหนดนโยบายในการจัดหาทรัพยากรของสถานบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขต่ ...
    • ทางเลือกการปฏิรูปอุตสาหกรรมยาสูบของประเทศไทย 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; กนิษฐา มากมูล; Kanidta Makmool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาเปรียบเทียบแนวคิด สถานการณ์และวิธีการปฏิรูปอุตสาหกรรมยาสูบของรัฐในประเด็นทางด้านการควบคุมยาสูบ การปกครองและข้อตกลงทางการค้าของประเทศต่างๆ (2) วิเคราะห์ฉากทัศน์ของบริบทด้านการปกครอง ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายเรื่องกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์ในระบบบริการสาธารณสุข 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      อาการไม่พึงประสงค์จากการรับบริการสุขภาพไม่ว่าจะเป็นเหตุสุดวิสัยหรือจากความประมาทของผู้ให้บริการก็ตามนำมาซึ่งความสูญเสีย และความขัดแย้งระหว่างผู้รับและผู้ให้บริการรักษา และมีผลกระทบต่อระบบบริการด้านสุขภาพของประเทศ ...
    • ทารุณกรรม การละเลยทอดทิ้งเด็ก และพฤติกรรมเสี่ยงถูกกระทำของเด็กในชุมชนชนบท จังหวัดขอนแก่น 

      วิชัย อัศวภาคย์; Vichai Ulvapark; ทิพธิญา เฮียงสอน; Tipthida Hiangson; จิราวรรณ แท่นวัฒนกุล; Jirawan Tanwatanakul†; กิ่งแก้ว โกษโกวิท; Kingkaew Kelgovit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เป็นการวิจัยวิธีระคน เพื่อศึกษาอุบัติการ รูปแบบ ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับทารุณกรรมการละเลยทอดทิ้งเด็ก และพฤติกรรมเสี่ยงการถูกกระทำของเด็ก ในพื้นที่ที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลน้ำพอง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น ...
    • ทิศทางการวิจัยเพื่อการพัฒนาสถานีอนามัย 

      อำพล จินดาวัฒนะ; Amphon Jindawatthana (2537)
      งานศึกษานี้เป็น Documentary review ร่วมกับ Focus group discussion เมื่อปี พ.ศ. 2536 เพื่อกำหนดประเด็นและคำถามที่ควรทำวิจัยเกี่ยวกับสถานีอนามัย ที่นำเสนอนี้เป็นบทสรุปย่อสาระสำคัญ เอกสารฉบับสมบูรณ์จัดพิมพ์เผยแพร่โดย ...
    • ทุนในชุมชน : การเคลื่อนไหวแก้ปัญหาสุรา กรณีศึกษาชุมชนบ้านโคกใหญ่ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 

      ศิราณี ศรีหาภาค; Siranee Sihaprak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
      การศึกษาปรากฏการณ์การเคลื่อนไหวในชุมชน เพื่อปรับเปลี่ยนประเพณีการบริโภคสุราในชุมชน โดยศึกษาทุนในชุมชนที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวแก้ปัญหาการดื่มสุรา แสดงให้เห็นกระบวนการเคลื่อนไหวปรับเปลี่ยนประเพณีปฏิบัติในชุมชน ...
    • ธรรมนูญระบบสุขภาพแห่งชาติ : เครื่องมือปฏิรูประบบสุขภาพในมิติกฎหมาย 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์; Paisan Limstit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เป็นกรอบและแนวนโยบายยุทธศาสตร์และการดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เป็นทิศทางระบบสุขภาพของประเทศที่จะทำให้ประชาชนมีสุขภาวะหรือสุข ...