Now showing items 1-16 of 16

    • การคาดการณ์กำลังคนทางด้านอาชีพสัตวแพทย์ ปี พ.ศ. 2568 

      ศุกลรัตน์ บุณยยาตรา; Sukolrat Boonyayatra; สุวิชา เกษมสุวรรณ; Suwicha Kasemsuwan; วลาสินี มูลอามาตย์; Walasinee Moonarmart; กนกอร เอื้อเกษมสิน; Ganokon Urkasemsin; ภาณุวัฒน์ แย้มสกุล; Panuwat Yamsakul; ศิริพร เพียรสุขมณี; Siriporn Peansukmanee; ปริวรรต พูลเพิ่ม; Pariwat Poolperm; ชัยกร ฐิติญาณพร; Chaiyakorn Thitiyanaporn; ชูชาติ กมลเลิศ; Chuchart Kamollerd; กัลยา เจือจันทร์; Kanlaya Chauchan; เจษฎา จิวากานนท์; Jatesada Jiwakanon; พงษ์ศิวะ โสตถิพันธุ์; Pongsiwa Sotthibandhu; อภิรดี อินทรพักตร์; Apiradee Intarapuk; พรรณนิการ ชัยชนะศักดิ์; Pannigan Chaichanasak; ทนงศักดิ์ มะมม; Thanongsak Mamom; อุตรา จามีกร; Uttra Jamikorn; เกรียงยศ สัจจเจริญพงษ์; Kriengyot Sajjarengpong; พรชลิต อัศวชีพ; Pornchalit Assavacheep; ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย; Chaiwut Tangsomchai; มานัดถุ์ คำกอง; Manad Khamkon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      อาชีพสัตวแพทย์เป็นอาชีพหลักที่ให้บริการด้านสุขภาพสัตว์ บริการทางด้านสัตวแพทย์นั้น ไม่เพียงแต่จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ของสัตว์เท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ ผ่านบทบาทที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหารและการควบคุมโร ...
    • การคาดการณ์กำลังคนในกลุ่มทันตบุคลากรของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ประเทศไทยมีการประมาณการความต้องการทันตบุคลากรหลายครั้ง วิธีการหลักที่ใช้ประมาณการความต้องการทันตแพทย์อ้างอิงจากสภาวะทันตสุขภาพของประชากรแล้วนำมาแปลงเป็นบริการที่ประชากรควรได้รับในมุมมองของทันตแพทย์ และยังไม่พบการประมาณการฯ ...
    • การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ: ฐานที่สำคัญในการวางแผนกำลังคน 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพต้องอาศัยข้อมูลเชิงประจักษ์สำหรับรองรับการตัดสินใจ ดังนั้นการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนที่สอดคล้องกับระบบสุขภาพที่พึงประสงค์จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อจะนำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาความไ ...
    • การจ่ายค่าตอบแทนบุคลากรทางการแพทย์ : ประเด็นข้อขัดแย้ง 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ถาวร สกุลพาณิชย์; Samrit Srithamrongsawat; Thaworn Sakunphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
    • การบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10 

      จรูญศรี มีหนองหว้า; Jaroonsree Meenongwah; สาดี แฮมิลตัน; Sadee Hamilton; ปัทมา ผ่องศิริ; Pattama Phongsiri; สุเพียร โภคทิพย์; Supian Pokathip; เอมอร บุตรอุดม; Aimon Butudom; พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; อรดี โชคสวัสดิ์; Oradee Choksawat; รัตนา บุญพา; Rattana Boonpha; เชาวลิต ศรีเสริม; Chaowalit Srisoem; ปัฐมาพร ใจกล้า; Pattamaporn Jaikla; วิโรจน์ เซมรัมย์; Wirote Semrum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้บุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลต้องมีภาระงานเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะวิชาชีพพยาบาลที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยโดยตรง ทำให้ต้องมีการบริหารอัตรากำลังด้านการพยาบา ...
    • การพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลในภาวะที่มีการระบาดของ COVID-19: กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา 

      ศิริวรรณ ชูกำเนิด; Siriwan Chukumnird; ศักรินทร์ สุวรรณเวหา; Sakkarin Suwanwaha; ผาณิต หลีเจริญ; Phanit Leecharoen; จารุณี วาระหัส; Jarunee Warahut; อภิสิทธิ์ เชื้อคำเพ็ง; Apisit Chuakompeng; นัยนันต์ เตชะวณิช; Naiyanan Tejavanija; ดารารัตน์ ดำรงกุลชาติ; Dararat Dumrongkullachart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      การวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์ (emancipatory action research) ร่วมกับกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลผู้ป่วย COVID-19 ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจายและการธำรงรักษาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดใหญ่ของโควิด-19 

      อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; ทัศนีย์ เกริกกุลธร; Tassanee Krirkgulthorn; สุชาดา นิ้มวัฒนากุล; Suchada Nimwatanakul; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; สุทธานันท์ กัลกะ; Suthanan Kunlaka; ปาณิสรา ส่งวัฒนายุทธ; Panisara Songwatthanayuth; ธัญพร ชื่นกลิ่น; Thunyaporn Chuenklin; วรวุฒิ แสงทอง; Worawut Saengthong; สืบตระกูล ตันตลานุกุล; Seubtrakul Tantalanukul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การวิจัยแบบผสมผสานครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากำลังคนด้านการพยาบาล: การผลิต การกระจายและการธำรงรักษาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์การระบาดใหญ่ของโควิด-19 เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเช ...
    • การสาธารณสุขไทยกับการวางแผนกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยในปี พ.ศ. 2569 

      รัชนี จันทร์เกษ; Rutchanee Chantraket; ปราโมทย์ เสถียรรัตน์; Pramote Stienrut; ทวี เลาหพันธ์; Tawee Laohapan; วัฒนศักดิ์ ศรรุ่ง; Wattanasak Sornrung; ศรัณยา จันษร; Sarunya Jansorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษาสถานการณ์กำลังคนด้านการแพทย์แผนไทยในสถานบริการภาครัฐ การผลิตกำลังคนในสถาบันการศึกษา และความต้องการกำลังคนด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อนำไปสู่การวางแผนการผลิตและพัฒนากำลังคนในอนาคต เป็นการศึกษาแบบผสมผสาน (mixed method) ...
    • การเข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทยของบุคลากรต่างชาติ 

      รุ่งฤดี วงค์ชุม; Rungrudee Wongchum; พีรนุช ลาเซอร์; Peeranuch LeSeure; อรทิพา ส่องศิริ; Onthipa Songsiri; พิชาภรณ์ จันทนกุล; Pichaporn Janthanakul; วิชชุดา เจริญกิจการ; Vishuda Charoenkitkarn; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษาการเข้ามาทำงานของบุคลากรสุขภาพชาวต่างชาติในประเทศไทยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคลของบุคลากรชาวต่างชาติที่เข้ามาทำงานโรงพยาบาลในประเทศไทย ปัจจัยที่ทำให้บุคลากรชาวต่างชาติตัดสินใจมาทำงานโรงพยาบาล ...
    • ความคาดหวังของผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชนในเขตสุขภาพที่ 2 ต่อหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 

      พันธิตรา สิงห์เขียว; Pantitra Singkheaw; ศิริเกษม ศิริลักษณ์; Sirikasem Sirilak; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; สุภาวดี มากะนัดถ์; Supawadee Makanut; เสาวนาถ สันติชาติ; Saowanat Santichat; อารยา ชัยช่อฟ้า; Araya Chaichofar (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      ภารกิจหลักข้อหนึ่งของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คือ การผลิตบัณฑิตแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท ซึ่งรับนักเรียนที่มีภูมิลำเนาใน 5 จังหวัดของเขตสุขภาพที่ 2 จำนวน 145 คนต่อปี เมื่อสำเร็จการศึกษาจะกลับไปปฏิบั ...
    • ความต้องการกำลังคนวิชาชีพสาธารณสุขของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; ประยูร ฟองสถิตย์กุล; Prayoon Fongsatitkul; สถิรกร พงศ์พานิช; Sathirakorn Pongpanich; วิทยา อยู่สุข; Wittaya Yoosuk; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ; Kwanjai Amnatsatsue; ทัศนีย์ ศิลาวรรณ; Tasanee Silawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ประเทศไทย นอกจากจะต้องประสบกับปัญหาในด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ที่นำไปสู่ปัญหาความเหลื่อมล้ำแล้ว ระบบสุขภาพก็กำลังได้รับผลกระทบอันเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่ โครงสร้างประชากรที่กลายเป็นสังคมผู้สูงอายุมากขึ้นเรื่อยๆ ...
    • ดัชนีราคาค่าแรงแพทย์ในประเทศไทย 

      พัฒนาวิไล อินใหม; Phatthanawilai Inmai; พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; ถาวร สกุลพาณิชย์; Thaworn Sakunphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำและพัฒนาดัชนีราคาค่าแรงแพทย์ในประเทศไทย ทั้งในภาครัฐและเอกชน ดัชนีราคาค่าแรงถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่องในต่างประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และแคนาดาในการตรวจวัดต้นทุนค่าแรง ...
    • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานกับภาวะสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์ในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 

      ดาวรุ่ง คำวงศ์; Daoroong Komwong; จีระเกียรติ ประสานธนกุล; Jirakeat Prasanthanakul; มุทิตา พนาสถิตย์; Muthita Phanasathit; ธนิยะ วงศ์วาร; Taniya Wongwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การวิจัยแบบตัดขวาง ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของภาวะสุขภาพจิต พฤติกรรมป้องกันเพื่อลดโอกาสติดเชื้อ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานและภาวะสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์สังก ...
    • ระบบบริการคลินิกยาต้านไวรัสเอชไอวีของโรงพยาบาลชุมชน : กรณีศึกษาใน 4 จังหวัดภาคเหนือตอนบน 

      สุวัฒน์ จริยาเลิศศักดิ์; Suwat Chariyalertsak; เพณณินาท์ โอเบอร์ดอร์เฟอร์; Peninnah Oberdorfer; จิราพร สุวรรณธีรางกูร; Jiraporn Suwantherangoon; ดาราวรรณ ต๊ะปินดา; Darawan Thapinta; ฟิลลิป เกส; Philip Guest (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง ข่าวสารจากโรคระบาดทั่วโลกสู่โรคประจำถิ่น โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 6 บทความ ได้แก่ 1) ลักษณะความเหลื่อมล้ ...
    • สัดส่วนเวลาการปฏิบัติงานของแพทย์เฉพาะทางโรงพยาบาลภาครัฐ กรณีศึกษา 8 โรงพยาบาล 

      ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Utoomporn Wongsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      การศึกษาสัดส่วนเวลาการปฏิบัติงานของแพทย์เฉพาะทาง ผู้ซึ่งปฏิบัติงานหลายหน่วยงานในสถานพยาบาลภายในประเทศไทย พบว่า หลักฐานที่มีการเผยแพร่เชิงประจักษ์ในเรื่องดังกล่าวนี้ยังมีน้อย ทั้งๆ ที่ข้อมูลสัดส่วนเวลาการปฏิบัติงานของแพทย ...