Now showing items 1-20 of 31

    • HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 7 : สู่ความเป็นธรรม ระบบบริการสุขภาพคนพิการ 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      วารสาร HSRI Forum ฉบับนี้ ได้นำเสนอประเด็น ‘สู่ความ เป็นธรรม ระบบบริการสุขภาพ คนพิการ’ เป็นรายงานพิเศษ เพื่อนำเสนอให้เห็นว่าคนพิการใน สังคมไทยยังไม่ได้รับความเป็น ธรรมในเรื่องใดบ้าง โดยเฉพาะ ในด้านการเข้าถึงการบริ ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 : วิจัยลดช่องว่าง ระบบบริการสุขภาพ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-04)
      ระบบบริการสุขภาพมีความซับซ้อนมากขึ้น ส่วนหนึ่งอาจเนื่องมาจากผู้รับบริการเข้าถึงระบบบริการและความต้องการบริการสุขภาพที่มีความเฉพาะด้านเพิ่มมากขึ้น แม้กระทั่งการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ เป็นประเด็นท้าทาย การวิจัยและพัฒนาข้อเสนอทา ...
    • กรอบบริการฟื้นฟูโดยคนพิการและครอบครัวในศูนย์บริการคนพิการทั่วไปสำหรับความพิการทางสติปัญญา ออทิสติกและการเรียนรู้ 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; วาริสา ทรัพย์ประดิษฐ; Warisa Suppradist; นำพร สามิภักดิ์; Numporn Samiphuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากรอบบริการฟื้นฟูโดยคนพิการและครอบครัวในศูนย์บริการคนพิการทั่วไปสำหรับความพิการทางสติปัญญา ออทิสติก และการเรียนรู้ที่มีอยู่ในปัจจุบัน และศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาบริการอื่นๆ ที่จำเป็น ...
    • การจัดการระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในเขตเมือง กรณีศึกษาจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์ 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      จังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ที่มีโรงพยาบาลศูนย์อยู่ในอำเภอเมืองโรงพยาบาลศูนย์นี้ต้องให้บริการทั้งผู้ป่วยในเขตอำเภอเมือง ในเขตจังหวัด และเขตพื้นที่ของจังหวัดอื่นที่อยู่ใกล้เคียง ทำให้มีภาระมาก ...
    • การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิยุคนโยบายสามหมอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 

      เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง; Chaweewan Sridawruang; เตือนใจ ภูสระแก้ว; Thuanjai Poosakaew; พิทยา ศรีเมือง; Phitthaya Srimuang; รุจิราลักขณ์ พรหมเมือง; Ruchiralak Prommueang; ไพฑูรย์ พรหมเทศ; Paitoon Promthet; รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง; Ratdawan Klungklang; ปณิตา ครองยุทธ; Panita Krongyuth; รุจี จารุภาชน์; Rujee Charupash (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ประชาชนไทยได้รับบริการสุขภาพปฐมภูมิแบบองค์รวมมาอย่างต่อเนื่อง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินสถานการณ์บริการสุขภาพปฐมภูมิและระบุปัจจัยที่มีผลต่อการจัดบริการตามระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ 7 ด้าน ได้แก่ การจัดบริการสุขภาพ ...
    • การจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉินตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 

      สุรจิต สุนทรธรรม; Surajit Sunthorntham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      องค์ประกอบของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ต้องมีการจัดองค์กร การรวมตัว และการประสานงาน เพื่อการดูแลผู้ป่วยให้ดีที่สุด คณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน (กพฉ.) และแพทย์ผู้อำนวยการระบบการแพทย์ฉุกเฉินต้องทำให้มั่นใจว่า องค์ประกอบที่จำเป็นแต ...
    • การตอบสนองผู้รับบริการภายใต้ระบบประกันสุขภาพและสถานบริการที่แตกต่างกัน 

      อังสุมาลี ผลภาค; ยงยุทธ พงษ์สุภาพ; วิชัย เอกพลากร; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; รัชนี สรรเสริญ; Aungsumalee Pholpark; Yongyuth Pongsupap; Wichai Aekplakorn; Samrit Srithamrongsawat; Rachanee Sunsern (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ระบุว่า ระบบสุขภาพจะต้องส่งเสริมคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และต้องให้ความสำคัญกับความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกันในสังคม แนวคิดนี้นำไปสู่ความพยายามที่จะวัดปฏิสัมพันธ์ที่เกิ ...
    • การถ่ายทอดหลักฐานวิชาการกิจกรรมทางกายสู่นโยบายการสร้างเมืองที่กระฉับกระเฉง: การทบทวนวรรณกรรมแบบย่อ 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ หมวดที่ 11 มุ่งมั่นให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัย มีภูมิต้านทานและยั่งยืน เนื่องด้วยการขยายตัวของเมืองที่รวดเร็วส่งผลต่อการเพิ่มภาระโรคไม่ติดต่ออันเนื่อง ...
    • การประเมินความเป็นไปได้และการยอมรับองค์กรเครือข่ายสุขภาพเพื่อการจัดระบบบริการทางการแพทย์ในระบบประกันสังคม: การวิจัยเชิงนโยบาย 

      ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; Chanida Lertpitakpong; บุญสงค์ ทัพชัยยุทธ์; Boonsong Thapchaiyuth; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      องค์กรเครือข่ายสุขภาพ (health maintenance organizations: HMO) เป็นรูปแบบหนึ่งที่น่าสนใจในการตอบโจทย์การพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ของสำนักงานประกันสังคม จึงต้องมีการศึกษาความเป็นไปได้และแนวโน้มการยอมรับของผู้มีส่วนได้ส่วน ...
    • การประเมินโครงการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิชั้นสูงศูนย์มะเร็งภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; แพร จิตตินันทน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิตแบบไร้รอยต่อและบูรณาการในประเทศไทย 

      พรทิพย์ วชิรดิลก; Porntip Wachiradilok; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; อัญชุลี เนื่องอุตม์; Aunchulee Neungaud (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      สถานการณ์ปัจจุบันมีผู้ป่วยด้วยโรคจิตเวชเพิ่มมากขึ้นทุกขณะ ในภาพรวมพบว่าประชากร 1 ใน 5 ของประเทศไทยมีปัญหาสุขภาพจิต มีผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการเริ่มต้นถึงรุนแรงร้อยละ 14.3 หรือ 7 ล้านคน และมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะฉุกเฉินว ...
    • การพัฒนารูปแบบการขับเคลื่อนการใช้สัญลักษณ์โภชนาการทางเลือกสุขภาพ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพของผู้บริโภคในร้านก๋วยเตี๋ยว ภายในอำเภอเมืองลำปาง 

      วรางคณา สันเทพ; Warangkana Suntep; ยงยุทธ แก้วเต็ม; Yongyuth Kaewtem (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การวิจัยและพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบ และ 2) ศึกษาประสิทธิผลการใช้สัญลักษณ์โภชนาการทางเลือกสุขภาพในร้านก๋วยเตี๋ยว อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน 1) วิเคราะห์ ประเมินความต้องการโดยส ...
    • การพัฒนาแนวทางการดำเนินงานบริการเภสัชกรรมทางไกลในประเทศไทย 

      วิไลลักษณ์ ตันตะโยธิน; Wilailuck Tuntayothin; วรวิทย์ กิตติวงศ์สุนทร; Worawit Kittiwongsunthorn; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; Rungpetch Sakulbumrungsil; กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; มุกดาวรรณ ประกอบไวทยกิจ; Mukdavan Prakobvaitayakit; สิริลักษณ์ บัวเจริญ; Siriluk Buacharoen; อาทิตย์ สอดแสงอรุณงาม; Atit Sodsangaroonngam; ศิริรัตน์ ตันปิชาติ; Sirirat Tunpichart; จิราพร ลิ้มปานานนท์; Jiraporn Limpananont (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      แม้ว่าสภาเภสัชกรรมได้ออกประกาศ เรื่องการกำหนดมาตรฐานและขั้นตอนการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล อย่างไรก็ตาม ในการดำเนินงานจำเป็นต้องมีรายละเอียดเพิ่มเติม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำแนวทางขั้นพื้นฐานของระบบบริการเภสัชก ...
    • การสังเคราะห์ทางเลือกของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเขตเมืองของประเทศไทย: กรณีศึกษาเขตสุขภาพที่ 3 

      ภูดิท เตชาติวัฒน์; Phudit Tetjativaddhana; รมย์นลิน ทองหล่อ; Romnalin Thonglor; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ทวีศักดิ์ นพเกษร; Tawesak Nopkesorn; พัชรินทร์ สิรสุนทร; Patcharin Sirasoonthorn; อภิชาต วิสิทธิ์วงษ์; Apichart Wisitwong; ไพฑูรย์ อ่อนเกตุ; Paitoon Ongate (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ทางเลือกของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเขตเมือง เขตสุขภาพที่ 3 โดยศึกษาเฉพาะระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง ของอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ และของอำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ...
    • การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับสิ่งแวดล้อมและนโยบายในประเทศไทย: การทบทวนเชิงวิเคราะห์ 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การมีกิจกรรมทางกายที่เพิ่มขึ้นก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมาก โดยไม่เพียงลดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรและลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจากโรคไม่ติดต่อ แต่ยังส่งผลต่อการสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ลดความเหลื่อมล้ำในสังคมและเพิ่มคุณภาพชีวิต ...
    • ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผลและการประยุกต์ใช้ในบริบทประเทศไทย 

      วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; อณิกา อิสลาม มาแชล; Aniqa Islam Marshall; สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (effective coverage) เป็นการต่อยอดการวัดความครอบคลุมของบริการสุขภาพที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมาแต่เดิมโดยคำนึงถึงคุณภาพและประโยชน์ของบริการเหล่านั้นร่วมด้วย ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมา องค์การอนามัย ...
    • ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสนับสนุนระบบบริการสุขภาพโรคเรื้อรังและการมีส่วนร่วมที่หน่วยบริการปฐมภูมิของเภสัชกรโรงพยาบาล 

      อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; หนึ่งฤทัย สุกใส; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; On-anong Waleekhachonloet; Nungruthai Suksai; Thananan Rattanachotphanit; Chulaporn Limwattananon; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      ในปัจจุบัน ระบบบริการปฐมภูมิมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สามารถควบคุมอาการได้ การรักษาโรคเรื้อรังเกือบทั้งหมดเป็นการรักษาด้วยยา ดังนั้นเภสัชกรควรมีส่วนร่วมในการดูแลการใช้ยาในหน่วยบริการปฐมภูมิ ...
    • ต้นทุนรูปแบบบริการผู้ป่วยในโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประเทศไทย: กรณีศึกษาโรงพยาบาล 5 แห่ง 

      อรทัย เขียวเจริญ; Orathai Khiaocharoen; อภิรนันท์ พงจิตภักดิ์; Aphiranan Phongjetpuk; ธันวา ขัติยศ; Tanwa Khattiyod; ชัชชน ประเสริฐวรกุล; Chatchon Prasertworakul; ทยาภา ศรีศิริอนันต์; Thayapa Srisirianun; พงษ์ลัดดา หล่ำพู่; Pongladda Lampu; อรรศธร ศุกระชาต; Assatorn Sukrachat; ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร; Chairoj Zungsontiporn; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนรูปแบบบริการสุขภาพ (health service models) ผู้ป่วยโควิด-19 ที่โรงพยาบาลจัดไว้สำหรับรองรับการรักษาตามระดับอาการของผู้ป่วย โดยวิเคราะห์ต้นทุนในมุมมองผู้ให้บริการ ใช้การวิเคราะห์ต้นท ...
    • บทเรียนการจัดระบบบริการตติยภูมิในภาวะวิกฤติโควิด-19 พื้นที่ 4 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

      ศิราณี อิ่มน้ำขาว; Siranee Imnamkhao; ภรรวษา จันทศิลป์; Bhanwasa Jantasin; ชัญญาวีร์ ไชยวงศ์; Chanyawee Chaiwong; ทรงสุดา หมื่นไธสง; Songsuda Muenthaisong; จงลักษณ์ ทวีแก้ว; Chonglak Taveekaew; ณัฐวุฒิ สุริยะ; Natthawut Suriya; วรนาถ พรหมศวร; Woranart Promsuan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      การวิจัยผสานวิธีครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา บทเรียนการจัดระบบบริการตติยภูมิในภาวะวิกฤติโควิด-19 พื้นที่ 4 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้กรอบ health-care capacity and utilization และ six building blocks ...
    • บริการสุขภาพจำเป็นแต่ไม่ได้รับการตอบสนองบ่งบอกนัยอะไร 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06)
      ความจำเป็นต่อบริการสุขภาพ (health care need) ที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (unmet) เริ่มปรากฏ เป็นตัวชี้วัดเปรียบเทียบระบบบริการสุขภาพระหว่างประเทศต่างๆ ในรายงานขององค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organisation for ...