Now showing items 1-20 of 42

    • HSRI-FORUM ฉบับพิเศษ ประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ประจำปี 2557 : วิจัยเปลี่ยนชีวิต 

      สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล; Somkiat Wattanasirichaigoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-11)
      แบ่งบันความรู้จากเวทีงานประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ประจำปี 2557 "วิจัยเปลี่ยนชีวิต" นำเสนอคุณค่างานวิจัยที่ไม่ใช่เพียงแค่งานวิจัย แต่เป็นสิ่งสำคัญที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน และระบบสุขภาพโดยรวม ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 1: จัดการความรู้ สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม : พลังความรู้ สู่การเขยื้อนภูเขา 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-04)
      เรื่อง“ความเป็นธรรม” ในระบบสุขภาพเป็นประเด็นที่สังคมไทยสนใจ มานาน สวรส.ได้ทำงานสนับสนุนประเด็นนี้อย่างต่อเนื่อง ฉบับนี้นำเรื่อง ราวหลายด้านที่เกี่ยวข้องมานำเสนอ ในคอลัมน์ต้นกล้าความรู้สู่ต้นแบบ สุขภาพ นำต้นแบบแนวคิด ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับพิเศษ : สวรส. จัดการความรู้ พัฒนาระบบสุขภาพไทย ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      HSRI Forum ฉบับพิเศษนี้ เราได้เปิดพื้นที่แนะนำเครือ สถาบันทั้ง 7 แห่งของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) และแผนงาน วิจัยของ สวรส. ที่ มีส่วนร่วม “สร้าง – จัดการความรู้” เพื่อพัฒนาระบบ สุขภาพไทย…ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 : การจัดการงานวิจัยอย่างมืออาชีพ 

      สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล; Somkiat Wattanasirichaigoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      การจัดการงานวิจัย มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่าการทำวิจัย งานวิจัยจะออกมาดีและตอบโจทย์ นอกจากต้องอาศัยนักวิจัยมือหนึ่งแล้ว ยังต้องอาศัยผู้ที่อยู่เบื้องหลังอย่าง "ผู้จัดการงานวิจัย" HSRI FORUM ฉบับนี้พบกับสาระความรู้ที่น่าสนใจจากเวที ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 : ปฏิรูป...วิจัยระบบสุขภาพ 

      ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)
      เกาะติดประเด็นร้อนกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญด้าน “การวิจัยสุขภาพ” ของการ “REFORM สวรส.” สู่บทบาทที่ครอบคลุมทุกมิติงานวิจัยด้านสุขภาพของประเทศ ในการผลักดันกฎหมายจัดตั้งสำนักงานส่งเสริมและวิจัยสุขภาพ
    • กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนระบบสุขภาพในประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร: บทเรียนสำหรับการจัดทำรัฐธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2551 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee; Siriwan Pitayarangsarit; ลลิดา เขตต์กุฎี; Lalida Khetkudee; เยาวลักษณ์ จิตตะโคตร์; Yaowalak Jittakoat; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)
      บัญญัติสุขภาพแห่งชาติ เป็นกฎหมายแม่บทด้านสุขภาพ มุ่งหวังเพื่อให้เป็นเครื่องมือของทุกฝ่ายในสังคมใช้ร่วมกัน โดยวางยุทธศาสตร์เพื่อเปิดทางให้ทุกฝ่ายในสังคมเป็นเจ้าของ ดูแลรับผิดชอบร่วมกัน และกำหนดให้ตราธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภ ...
    • การกำหนดหัวข้อวิจัยระบบสุขภาพไทยแบบมีส่วนร่วม 

      ทรงยศ พิลาสันต์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Songyot Pilasant; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      งานวิจัยด้านนโยบายและระบบสุขภาพเป็นสิ่งจำเป็นในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ การจัดลำดับความสำคัญของหัวข้อวิจัยด้านสุขภาพจึงมีความสำคัญในการจัดสรรงบประมาณด้านการวิจัยที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เป็นไปอย่างคุ้มค่า ...
    • การจัดบริการผู้บาดเจ็บของโรงพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 3 

      ณัฐกฤษฎ์ ธรรมกวินวงศ์; Nathakrid Thammakawinwong; สุเทพ สินกิตติยานนท์; นฤมล ปาเฉย; อรพรรณ มันตะรักษ์; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      ปริมาณอุบัติเหตุทางถนน มีแนวโน้มสูงขึ้นส่งผลให้เกิดความสูญเสียทั้งชีวิตร่างกายตลอดจนทรัพย์สินอย่างประเมินค่ามิได้ สถิติการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ขององค์การอนามัยโลก พบว่า ประเทศไทยมีอัตราการเสียชีวิต 38.1 ต่อแสนประชากร ...
    • การประเมินผลการดำเนินงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ จังหวัดตาก 

      ปราโมชย์ เลิศขามป้อม; มโน มณีฉาย; ธีระ วรธนารัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การประเมินผลการดำเนินงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System) จังหวัดตาก มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อประเมินความสอดคล้องและเหมาะสมด้านบริบท (Context Evaluation) ประเมินความเหมาะสมและเพียงพอด้านปัจจัยเบื้องต้น (Input ...
    • การประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนักวิจัยเขตสุขภาพรุ่นที่ 1 ระยะที่ 1 และ 2 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      วัตถุประสงค์ (Objective) เพื่อประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนักวิจัยเขตสุขภาพรุ่นที่ 1 ในการสังเคราะห์ประเด็นสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาโครงการ (formative evaluation) โดยครอบคลุมโครงการทั้งระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2 ...
    • การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยในระบบสุขภาพ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      เป้าหมายในการขยายแนวคิด การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research ; R2R) ให้ขจรขจายไปทั่วทั้งระบบบริการสุขภาพ เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมของการใช้ความรู้ในการพัฒนางานของคนในวงการสุขภาพ โดยให้บุคลากรแต่ละคนสามารถแก้ปัญหาไ ...
    • การอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย หลังการประกาศใช้ พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550: กรอบแนวคิด พัฒนาการ และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา 

      วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมและการปฏิรูปโครงสร้างระบบสุขภาพในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้สร้างความท้าทายใหม่ๆ ในการอภิบาลระบบสุขภาพของประเทศไทย ภายหลังการตั้งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ในปี พ.ศ.2535 มีการจัดตั้ ...
    • ความเชื่อมโยงของประเด็นสุขภาพกับอนาคตของระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ความเชื่อมโยงของประเด็นต่างๆ กับสุขภาพสามารถอ้างถึงได้ดังที่พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 3 ได้จำกัดความคำว่า “สุขภาพ” ว่าหมายความถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญาและทางสังคม เชื่อมโยงกั ...
    • จับกระแส : จดหมายข่าวสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 

      ชูชัย ศุภวงศ์; ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538-08)
      - ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขเสนอเป้าหมายและแนวทางของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข - ศ.นพ.ประเวศ วะสี ชี้การวิจัยกับอนาคตของระบบสาธารณสุข - ระบบยาของประเทศไทย งานวิจัยที่ท้าทายการพัฒนา - วิจารณ์ร่างแผนพัฒนาการวิจัยระบบสาธารณสุข ...
    • ธรรมนูญระบบสุขภาพแห่งชาติ : เครื่องมือปฏิรูประบบสุขภาพในมิติกฎหมาย 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์; Paisan Limstit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เป็นกรอบและแนวนโยบายยุทธศาสตร์และการดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เป็นทิศทางระบบสุขภาพของประเทศที่จะทำให้ประชาชนมีสุขภาวะหรือสุข ...
    • ประสบการณ์การทำงานเป็นผู้ประสานงานโครงการนักวิจัยเขตสุขภาพ รุ่นที่ 1 

      อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      โครงการนักวิจัยเขตสุขภาพ รุ่นที่ 1 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาบุคลากรในเขตสุขภาพ และหน่วยงานในสังกัดกรมต่างๆ ของกระทรวงสาธารณสุข ให้มีความสามารถในการสร้างงานวิจัยและพัฒนาระบบงานด้านสุขภาพที่ตอบสนองต่อปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ ...
    • ประโยชน์ของข้อมูลการสำรวจครัวเรือนเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพและระบบสุขภาพในประเทศไทย 

      อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; ชนิกานต์ เนตรภักดี; Chanikarn Netrpukdee; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; จินตนา จันทร์โคตรแก้ว; Jintana Jankhotkaew; พเยาว์ ผ่อนสุข; Payao Phonsuk; นิศาชล เศรษฐไกรกุล; Nisachol Cetthakrikul; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลสำรวจสถิติครัวเรือนที่จัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) อย่างต่อเนื่องในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา เพื่ออ้างอิงในกระบวนการกำหนดนโยบายสุขภาพจนบรรลุผลหลายประเด็น ...
    • ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง ระบบสุขภาพไทย : มุมมองของราษฎรเต็มขั้น 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
    • ปิดช่องว่างด้วยระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      บทความในวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2564 ให้ความสำคัญกับการลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย โดยให้ความสนใจกับสุขภาพเด็กตั้งแต่เริ่มต้นด้วยการให้ทารกได้กินนมแม่ นโยบายกินนมแม่อย่างเดียวจนอายุหกเดือ ...
    • ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2576 

      อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบันได้รับผลกระทบจากปัจจัยแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นในการคาดการณ์อนาคตของประเทศเพื่อให้ทราบสถานการณ์สำคัญที่ต้องเผชิญในอนาคตและรับมือหรือใช้ประโยชน์จากปัจจัยเหล่านั้น ...