Now showing items 1-12 of 12

    • การคลังสุขภาพในระบบสุขภาพปฐมภูมิ: ยกระดับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ระบบสุขภาพปฐมภูมิเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการจัดประเภทระบบสุขภาพของประเทศต่างๆ เนื่องจากถ้ามีระบบสุขภาพปฐมภูมิที่ดี ประเทศจะสามารถควบคุมรายจ่ายด้านสุขภาพโดยรวม มีบริการที่มีคุณภาพ ได้ผลลัพธ์ทางสุขภาพสูง รวมทั้งแก้ปัญหา ...
    • การประเมินรูปแบบการจัดบริการปฐมภูมิสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในจังหวัดขอนแก่น 

      พิทยา ศรีเมือง; Phitthaya Srimuang; จรียา ยมศรีเคน; Jareeya Yomseeken; ฐิติกานต์ เอกทัตร์; Thitikan Ekathat; วรรณศรี แววงาม; Wanasri Wawngam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      บริการสุขภาพปฐมภูมิถือเป็นระบบสำคัญของบริการที่มีคุณภาพเพื่อทำให้ประชาชนมีสุขภาพดีถ้วนหน้า การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินกระบวนการและระบบสนับสนุนขององค์กร รวมทั้งเปรียบเทียบกระบวนการและระบบสนับสนุนขององค์กรกั ...
    • การพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสมระหว่างภาคชุมชน ภาครัฐและภาคเอกชนในการบริหารจัดการและการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ 

      วณิชา ชื่นกองแก้ว; Wanicha Chuenkongkaew; อภิสิทธิ์ ธำรงวรางกูร; Apisit Thamrongwaranggoon; วิชัย อัศวภาคย์; Wichai Ussavaphark; ดุสิตา กระวานชิด; Dusita Krawanchid; มนัสชนน์ คุณาพรสุจริต; Manuschon Kunapornsujarit; ธนวันต์ กัญญภัส; Tanawan Kanyapas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจตคติของบุคลากรสาธารณสุขต่อความร่วมมือและรูปแบบการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาแนวทางความร่วมมือที่เหมาะสมระหว่างชุมชน ภาครัฐและภาคเอกชนในการบริหารจัดการสุขภาพระดับปฐมภูมิ โดยเป็นการวิจั ...
    • ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการปฐมภูมิในปี พ.ศ. 2569 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; อดุลย์ บำรุง; Adun Bamrung; ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล; Thidaporn Jirawattanapisal (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษานี้เป็นการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการระดับปฐมภูมิในอนาคต (พ.ศ. 2569) ซึ่งครอบคลุมทั้งภาครัฐและเอกชน และครอบคลุมบริการ (1) การรักษาเบื้องต้นและการแพทย์แผนไทย (2) การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ...
    • ความเห็นในเรื่อง บทบาท หน้าที่ และกิจกรรมต่อบริการปฐมภูมิของร้านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วิวรรธน์ อัครวิเชียร; ธารินี อัครวิเชียร; ชาญชัย จารุภาชน์; ขนิษฐา เจิมขุนทด; พักตร์วิภา เจริญธรรม; Wiwat Arkaravichien; Tarinee Arkaravichien; Chanchai Jarupach; Khanitha Jermkuntood; Parkwipa Charoenthum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      แม้ว่าร้านยาจะเป็นที่ให้บริการสุขภาพเบื้องต้นแก่ประชาชน แต่ร้านยาก็ไม่ได้ถูกจัดให้เป็นหน่วยบริการภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพใดๆ ภายหลังที่ประเทศไทยมีระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้มีความพยายามที่จะทดลองร้านยาคุณภาพเป็น ...
    • ต้นทุนการจัดบริการของคลินิกหมอครอบครัว 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Utoomporn Wongsin; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayathikom; วาริสา ทรัพย์ประดิษฐ; Warisa Suppradist; นำพร สามิภักดิ์; Numporn Samiphuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster: PCC) โดยเก็บข้อมูลจากคลินิกหมอครอบครัวในพื้นที่เป้าหมาย 4 จังหวัดๆ ละ 1 แห่ง ตามความพร้อมของพื้นที่ จำแนกเป็น PCC ในเขตเมือง ...
    • ต้นทุนเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพ 8 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Utoomporn Wongsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนภาพรวมของเครือข่ายระบบบริการปฐมภูมิโดยคัดเลือกพื้นที่อำเภอที่มีระบบบริการปฐมภูมิที่ดี มีการบริหารจัดการในลักษณะของเครือข่ายตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านระบบบริการปฐมภูมิ ...
    • บริการสุขภาพปฐมภูมิแบบไร้รอยต่อกับความจริงด้านมาตรฐานข้อมูลสุขภาพที่ผู้คนมักไม่ตระหนัก 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      ประเทศไทยให้ความสำคัญกับระบบสุขภาพปฐมภูมิมานานกว่าสองทศวรรษ มีนโยบายจำนวนมากลงมาสู่ระบบสุขภาพปฐมภูมิ แต่ระบบข้อมูลบริการสุขภาพที่จำเป็นและเป็นมาตรฐานได้รับการพัฒนาช้ากว่าที่ควร ซึ่งเป็นความจริงที่ตระหนักกันน้อยว่ามาตรฐาน ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2566 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2566 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง การคลังสุขภาพในระบบสุขภาพปฐมภูมิ: ยกระดับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 12 บทความ ...
    • สถานการณ์ ศักยภาพ และความพร้อมของไตรภาคี ในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนในพื้นที่ 12 ตำบล 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; เกษม เวชสุทธานนท์; วินัย ลีสมิทธิ์; ทัศนีย์ ญาณะ; อรอนงค์ ดิเรกบุษราคม; ภัทระ แสนไชยสุริยา; รวีวรรณ เผ่ากัณหา; พงค์เทพ สุธีรวุฒิ; สิรินาฏ นิภาพร; พฤกษา บุกบุญ; Supattra Srivanichakorn; Kasem Vechasuthanon; Winai Leesmith; Tassanee Yana; Onanong Direkbussarakom; Pattara Sanchaisuriya; Raviwan Paokanha; Pongtep Suthirawuth; Sirinat Nipaporn; Praksa Bookboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความพร้อมและศักยภาพขององค์กรปกครองท้องถิ่น ชุมชน และเครือข่ายหน่วยบริการสาธารณสุขในระดับปฐมภูมิ ซึ่งเป็นไตรภาคีในการทำงานด้านสุขภาพของพื้นที่ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาแนวทางและบทบาทการร่วม ...
    • สถานการณ์โควิด-19 ที่ท้าทายระบบสุขภาพปฐมภูมิไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      แล้วการระบาดของโรคโควิด19- ระดับโลกที่สร้างระเบียบวิถีใหม่ก็เปลี่ยนผ่านเข้าสู่วาระโรคประจำถิ่น การเขย่าโลกอย่างแรงทำให้คนทั่วโลกเกือบ 550 ล้านคนรายงานว่าป่วย 6.5 ล้านคนตาย และรับวัคซีนเกือบ 12,000 ล้านโด๊สพร้อมๆ ...
    • อาสาสมัครสาธารณสุข : ศักยภาพและบทบาทในบริบทสังคมไทยที่เปลี่ยนไป 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup; ปารณัฐ สุขสุทธิ์; Paranat Suksut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หรือ อสม. เป็นรูปแบบสำคัญของการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสาธารณสุขตามนโยบายสาธารณสุขมูลฐานที่มีการดำเนินการมานานกว่า 3 ทศวรรษ การศึกษาชิ้นนี้เป็นการประเมินศักยภาพและบทบาทของ อสม. ในบริบทสังคมไท ...