Show simple item record

A Study of using the traditional medicine form herbal healers in North-eastern of Thailand

dc.contributor.authorพิบูล กมลเพชรen_US
dc.contributor.authorสมจิตร ปทุมานนท์en_US
dc.contributor.authorประทีป เมฆประสานen_US
dc.contributor.authorอุไรวรรณ เพิ่มพิพัฒน์en_US
dc.contributor.authorวัชรี ประชาศรัยสรเดชen_US
dc.date.accessioned2010-12-23T06:12:19Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:26:40Z
dc.date.available2010-12-23T06:12:19Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:26:40Z
dc.date.issued2553-11en_US
dc.identifier.otherhs1771en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3090en_US
dc.description.abstractการศึกษาการใช้สมุนไพรของหมอพื้นบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้เสร็จสิ้นลงในต้นปี 2541 เนื้อหาสาระที่สำคัญของผลการศึกษาวิจัยยังไม่เคยเปิดเผยต่อสาธารณะ ด้วยสถานการณ์การแพทย์แผนไทยด้านสมุนไพรที่ผ่านมา 12 ปี บางช่วงยังตกอยู่ในสภาพที่ถูกครอบงำ สับสน วุ่นวายและเบี่ยงเบน สิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นน่าจะบ่งบอกได้ว่ามีอะไรขาดหรือเกินเกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนา คณะผู้ทำการศึกษาวิจัยเชื่อว่าการเปิดเผยผลการศึกษาวิจัยนี้น่าจะเป็นผลดีต่อการพัฒนาการแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้าน รูปแบบการศึกษาวิจัย :การศึกษาวิจัยนี้ได้ศึกษากับหมอพื้นบ้านด้านสมุนไพรที่มีประสบการณ์การใช้สมุนไพรต่อเนื่องกันมาเกินกว่า 10 ปี เป็นการศึกษาวิจัยแบบสำรวจแบบมีส่วนร่วมที่สมบูรณ์แบบกับหมอพื้นบ้าน เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสังเกต การจดบันทึก การบันทึกภาพ และการสัมภาษณ์เชิงลึก ณ. ชมรมหมอพื้นบ้านอำเภอภูเขียว จ.ชัยภูมิ ชุมชนที่อยู่ของหมอพื้นบ้านและสมุนไพร ได้รับทุนศึกษาวิจัยจาก สวรส ผลการศึกษาวิจัย :พบว่า จากรายได้และลักษณะสมุนไพรที่หมอพื้นบ้านใช้แบ่งหมอหมอพื้นบ้านออกได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ ประเภท ชาวบ้าน, กึ่งอาชีพ (17 คน), อาชีพ (23 คน), และผู้เชียวชาญในอาชีพ (3 คน), หมอพื้นบ้าน จำนวน 43 คน มีแนวคิดในการใช้สมุนไพรอยู่ 2 ประการ ประการแรก เป็นแนวคิดในการอาศัยกลไกที่มีอยู่ในร่างกายตอบสนองต่อสมุนไพร ได้แก่การอาเจียน การสำรอก การระบายถ่ายท้อง การขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ การชะล้าง การดูดซับ การเกิดเป็นแผลฝีหนองโดยมีความเชื่อว่าปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นเป็นการล้างพิษ กระทุ้งพิษ หรือดูดพิษ ประการ ที่ 2 เป็นแนวคิดในการนำการออกฤทธิ์ของสมุนไพรไปรักษาที่สาเหตุของโรคหรืออาการของโรคโดยตรง หากมีการตอบสนองของกลไกในร่างกายเกิดขึ้นถือว่าเป็นภาวะแทรกซ้อนที่ต้องให้การรักษา แบ่งประเภทสมุนไพรที่ใช้ออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่ม ที่ 1 ได้แก่ตำรับสมุนไพรรักษา ริดสีดวงทวารและจมูก กลุ่ม ที่ 2 ได้แก่ ตำรับสมุนไพรกำจัดไฝ หูด ขี้แมลงวัน ตาปลา ติ่งเนื้อขนาดเล็ก กลุ่มที่ 3 ได้แก่ ตำรับสมุนไพรรวมโรค มีสมุนไพรหลักที่ใช้ได้แก่ สมุนไพร รหัส Pharm. 001 (โปแตสเซียม ไอโอไดด์) กลุ่มที่ 4 ตำรับสมุนไพรท้องถิ่นดั้งเดิม : สรุป :จำนวนตำรับสมุนไพรที่ได้จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ไม่สามารถใช้เป็นตัวแทนตำรับสมุนไพรที่มีอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ แต่การค้นพบแนวคิดเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรรักษาโรคและสมุนไพรหลักที่หมอพื้นบ้านระดับอาชีพและผู้เชี่ยวชาญในอาชีพใช้น่าจะให้ภาพรวมกระบวนการการใช้สมุนไพรของหมอพื้นบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent15982840 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectPlants, Medicinalen_US
dc.subjectHerbsen_US
dc.subjectสุขภาพทางเลือกen_US
dc.subjectผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)th_TH
dc.titleศึกษาการใช้สมุนไพรจากหมอสมุนไพรพื้นบ้าน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฉบับเปิดเผยผลการศึกษาวิจัยปี พ.ศ.2541en_US
dc.title.alternativeA Study of using the traditional medicine form herbal healers in North-eastern of Thailanden_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.description.abstractalternativePurpose : The study was to identify the general characteristics of herbal healers in the north-eastern of Thailand and the many types of herbal which were use by herbal healers who treat patients and observed a sign of diseases or symptoms of diseases. Methods : The study was designed to be a descriptive survey. The sample consists of 43 herbal healers with more than 10 years experience from 13 provinces in the north-eastern of Thailand. In depth an interview were used to collecting data and was substantiated through observations. Results : It was found that the herbal healers incomes based on treating diseases with herbs. The healers were allocated into one of four categories : amateur, semi-professional, professional, and expert. Herbal healers were able to treat 33types of disease or symptoms using one or more of 99 active formulas. Herbal healers apply two concepts for the treatment of diseases to : 1.To stimulate or suppress human physiological response mechanisms such as vomiting, laxative, cathartic concretions in sweat, diuretic and pustules, This concept was based on the belief that these responses were to eliminate toxins and to drive out toxins, or to absorb toxins form out of the body. The many conditions that were treated by methods. To apply this concept, for example, dog bite (by both a rabid and non-rabid dog). 2.To treat the symptoms and to cure illness and disease. Under this concept the herbal healer had no expectations concerning the physiological response to the herbal medicine. The same as the concept one, the patients had those signs and system that they would treat it as complication. There were many symptoms and diseases that the herbal healers treating to use this concept, for example, herbal medicine code Pharm.001 was used to treat CA liver, AIDS, etc. Conclusion : The formulas of herbal medicine were found in this study can not be used to represent all the herbal remedies which were found in the north-eastern of Thailand. However, the concept was used in the treatment of disease by professional and expert herbal healers. It is consistent through out the regionen_US
dc.identifier.callnoQV767 พ235ศ 2541en_US
dc.identifier.contactno36ง002en_US
dc.subject.keywordการใช้สมุนไพรen_US
dc.subject.keywordสมุนไพรพื้นบ้านen_US
dc.subject.keywordหมอพื้นบ้านen_US
dc.subject.keywordตำรับสมุนไพรen_US
dc.subject.keywordสมุนไพรen_US
dc.subject.keywordTraditional Medicine--Thaien_US
dc.subject.keywordHerbal Preparationen_US
dc.subject.keywordTraditional Healersen_US
.custom.citationพิบูล กมลเพชร, สมจิตร ปทุมานนท์, ประทีป เมฆประสาน, อุไรวรรณ เพิ่มพิพัฒน์ and วัชรี ประชาศรัยสรเดช. "ศึกษาการใช้สมุนไพรจากหมอสมุนไพรพื้นบ้าน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฉบับเปิดเผยผลการศึกษาวิจัยปี พ.ศ.2541." 2553. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3090">http://hdl.handle.net/11228/3090</a>.
.custom.total_download501
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year5

Fulltext
Icon
Name: hs1771.pdf
Size: 12.50Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record