Show simple item record

Management of health security fund areas in Phichit province : year 2008

dc.contributor.authorจิรยุทธ์ คงนุ่นen_US
dc.contributor.authorประยุทธ คลังสินen_US
dc.contributor.authorสมศักดิ์ ศิริวัฒนากุลen_US
dc.contributor.authorพนมศักดิ์ เอมอยู่en_US
dc.contributor.authorนุชนัดดา แสงสินศรen_US
dc.contributor.authorบุญศรี เขียวเขินen_US
dc.contributor.authorมยุรี เข็มทองen_US
dc.coverage.spatialพิจิตรen_US
dc.date.accessioned2011-01-13T08:42:18Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:27:03Z
dc.date.available2011-01-13T08:42:18Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:27:03Z
dc.date.issued2552-07en_US
dc.identifier.otherhs1729en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3098en_US
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง “การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (ตำบล) ของจังหวัดพิจิตร ปี 2551” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ด้านงบประมาณ บทบาทของคณะกรรมการกองทุนฯ ในการบริหารจัดการงบประมาณ และการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระบบการติดตามควบคุมกำกับและประเมินผลของกองทุนฯ และความสอดคล้องของกิจกรรมที่ดำเนินการกับวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ โดยทำการศึกษาจากกองทุนฯ นำร่องของจังหวัดพิจิตร จำนวน 16 แห่ง ใช้ระยะเวลาในการศึกษาตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2551 ถึง 31 พฤษภาคม 2552 ผลการศึกษาพบว่า ด้านระบบการบริหารจัดการงบประมาณ แหล่งงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ทำการศึกษาในส่วนรายได้จากการจัดเก็บเองมีแนวโน้มลดลง งบประมาณอุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น งบอุดหนุนเฉพาะกิจมีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย ส่วนรายได้อื่นค่อนข้างคงที่ งบประมาณที่ท้องถิ่นจัดสรรเพื่อการดำเนินงานด้านสาธารณสุขเมื่อเปรียบเทียบกับงบประมาณทั้งหมดในปีนั้นมีแนวโน้มสูงขึ้น สัดส่วนงบประมาณของกองทุนฯ ในส่วนของเงินที่ได้รับจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) มีแนวโน้มที่ลดลง ส่วนเงินที่ท้องถิ่นสมทบนั้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วนเงินสมทบจากชุมชนและอื่นๆ นั้นเริ่มมีมากขึ้น การจัดสรรงบประมาณของกองทุนฯ จัดสรรให้กิจกรรมรวมของทุกกลุ่มอายุมากที่สุด รองลงมาคือ กลุ่มอายุ อายุ 25 ปีขึ้นไป กลุ่มอายุ 6-25 ปี ผู้พิการ กลุ่มเด็ก 0-6 ปี และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ตามลำดับ สัดส่วนการใช้งบประมาณในแต่ละประเภทกิจกรรมของกองทุนฯ มีการใช้จ่ายในหมวดซื้อบริการสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์มากที่สุด รองลงมาคือ หมวดสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชน./และชุมชนท้องถิ่น หมวดสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยบริการสาธารณสุข และหมวดบริหารจัดการกองทุนฯและพัฒนาระบบบริหารจัดการ ตามลำดับ ด้านระดับการปฏิบัติงานตามความเห็นคิดเห็นของคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ หลักประกันสุขภาพพบว่า อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 44.70 รองลงมาคือปฏิบัติได้ดี ร้อยละ 34.85 และยังปฏิบัติได้น้อย ร้อยละ 20.45 เมื่อทำการทดสอบความความแตกต่างการปฏิบัติของแต่ละท้องถิ่น พบว่าต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการในแต่ละตำแหน่งที่ต่างกัน พบว่าไม่แตกต่างกันในทางสถิติ ตำบลที่มีการจัดทำยุทธศาสตร์สุขภาพนั้นมีเพียงแห่งเดียวคือ ท่าเยี่ยม อำเภอสากเหล็ก การได้มาซึ่งแผนงาน/โครงการนั้น ส่วนใหญ่ได้จากการทำประชาคมหมู่บ้านและตำบล รองลงมาจะเป็นการเสนอแผนงานโครงการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และจากอบต.เองมีบ้างเล็กน้อยที่โครงการถูกเสนอโดยองค์กรในชุมชนหรือภาคีอื่นๆ และทำการอนุมัติโดยที่ประชุมของคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ส่วนที่ยังมีการดำเนินการน้อยคือเรื่องการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบถึงกิจกรรมของกองทุนฯ และการประเมินผลงานที่ได้อนุมัติให้บุคคลหรือกลุ่มชมรมต่างๆ ไปดำเนินการen_US
dc.format.extent868253 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherแผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า(ผรส.)en_US
dc.rightsสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติen_US
dc.subjectหลักประกันสุขภาพen_US
dc.subjectระบบประกันสุขภาพen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล)ของจังหวัดพิจิตร ปี 2551en_US
dc.title.alternativeManagement of health security fund areas in Phichit province : year 2008en_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study of “The management of Local (Sub-district) health security fund in Pichit province 2008” were to explore financing situation, roles of committee in manage fund, the implementation of diseases prevention and protection, monitoring, controlling and evaluating system of the fund that relevant to objectives of the fund. The study conducted in 16 pilot local health security funds in Pichit between October 1st and May 31st 2009. The results found that in the management system factor, sources of fund and collected income trend to be decrease. The central government subsidy was trend to be increase. The specific subsidy was slightly decrease meanwhile the others were stable. Proportion of health financing was trend to be increase. Nevertheless, proportion of subsidy from National Security Office was tren to be decrease, meanwhile the joining budget from local government and others communities trend to be more increasing. Buget allocation from Local health security fund, Most of it allocated to elderly then agegroup equal to and more than 25 years, 6-25 years, handicab, 0-6 years and pregnant weman respectively. Most of expenditure by activities was paid for health care, health promotion, subsidised to health facilities, funding management and mangement improving respectively. The commitee’s opinion on level of performance found that it was in the fair, good and poor level equal to 44.70, 34.85 and 20.45 percent respectively. The differentiation of the perfomances between any local health security funds found the significantly different at 0.01 (P-value < 0.01) The differentiation of performances between different working positions found that it was not sigificantly different. Only one local government that had strategic planning, it was Tambol Thayium, Saklek district. Most of local plans and projects come from community and sub-district forum, proposal from health worker and member of local government. There were a few projects propsed by other sectors and organizations. The less implemented activities were public communucation, and evaluation.en_US
dc.identifier.callnoW160 จ498ก 2552en_US
dc.identifier.contactno51-005en_US
dc.subject.keywordการบริหารงบประมาณen_US
.custom.citationจิรยุทธ์ คงนุ่น, ประยุทธ คลังสิน, สมศักดิ์ ศิริวัฒนากุล, พนมศักดิ์ เอมอยู่, นุชนัดดา แสงสินศร, บุญศรี เขียวเขิน and มยุรี เข็มทอง. "การบริหารงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น(ตำบล)ของจังหวัดพิจิตร ปี 2551." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3098">http://hdl.handle.net/11228/3098</a>.
.custom.total_download131
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year3
.custom.downloaded_fiscal_year4

Fulltext
Icon
Name: hs1729.pdf
Size: 889.7Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record