Show simple item record

Cholera and Climate Change

dc.contributor.authorสรันยา เฮงพระพรหมen_US
dc.contributor.authorSarunya Hengprapromen_US
dc.contributor.authorพรชัย สิทธิศรัณย์กุลen_US
dc.contributor.authorPornchai Sithisarankulen_US
dc.date.accessioned2011-06-17T04:32:51Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:17:12Z
dc.date.available2011-06-17T04:32:51Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:17:12Z
dc.date.issued2554-03en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 5,1(ม.ค.-มี.ค.2554) : 9-17en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3152en_US
dc.description.abstractการแปรสภาพภูมิอากาศของโลกส่วนใหญ่เป็นผลมาจากกิจกรรมของมนุษย์ ผลกระทบทางลบจากการเปลี่ยนแปลงคือภาวะโลกร้อน ซึ่งส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม ระบบนิเวศ การกระจายของโรคและพาหะของเชื้อโรคหลายชนิด ซึ่งย้อนกลับมาส่งผลต่อมนุษย์เอง หนึ่งในนั้นคืออหิวาตกโรค บทความนี้กล่าวถึงผลต่อตัวเชื้อโรค การกระจาย และวิทยาการระบาดของอหิวาตกโรค จากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง ผ่านตัวแปรต่างๆ เช่น อุณหภูมิ ปรากฏการณ์ เอนโส้ ระดับความสูงของน้ำทะเลและระดับความเค็ม ปรากฏการณ์การงอกเจริญเกิน หรือการสพรั่งของสาหร่าย หรือการสพรั่งของแพลงค์ตอนพืช และกิจกรรมของมนุษย์ที่เกิดจากอุตสาหกรรมเดินเรือสมุทร ผู้เขียนได้ให้ข้อเสนอแนะการทำวิจัยเพื่อศึกษาทำความเข้าใจและบรรเทาผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleอหิวาตกโรค กับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงen_US
dc.title.alternativeCholera and Climate Changeen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeClimate change results mostly from the activities of humans whose numbers keep growing. One of the negative impacts of climate change is global warming. Global warming has deleterious effects on the environment, ecology, distribution of various diseases and their vectors; this will, in turn, negatively affect humans. One of those diseases is cholera. The present article reviews the pathogen, its distribution, epidemiology, and the effects of climate change over distribution of cholera via the following factors: temperature, ENSO (El NiNo/Southern Oscillation), sea rise level and salinity level, eutrophication phenomenon, and human activities related to shipping. The authors conclude with recommendations on research to understand and mitigate the effects of climate changeen_US
dc.subject.keywordภาวะโลกร้อนen_US
dc.subject.keywordอหิวาตกโรคen_US
dc.subject.keywordวิทยาการระบาดen_US
dc.subject.keywordCholera Outbreaken_US
.custom.citationสรันยา เฮงพระพรหม, Sarunya Hengpraprom, พรชัย สิทธิศรัณย์กุล and Pornchai Sithisarankul. "อหิวาตกโรค กับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง." 2554. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3152">http://hdl.handle.net/11228/3152</a>.
.custom.total_download3827
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month102
.custom.downloaded_this_year344
.custom.downloaded_fiscal_year632

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v5n1 ...
Size: 187.7Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

Show simple item record