Show simple item record

Effectiveness of Intensive Behavioral Modification Program for Individual at Risk of Type 2 Diabetes

dc.contributor.authorสุวัฒน์ โคตรสมบัติen_US
dc.contributor.authorวิฑูรย์ โล่ห์สุนทรen_US
dc.contributor.authorSuwat Kotsombutten_US
dc.contributor.authorVitool Lohsoonthornen_US
dc.contributor.authorวิโรจน์ เจียมจรัสรังษีen_US
dc.contributor.authorWiroj Jiamjarasrangsien_US
dc.contributor.authorสมรัตน์ เลิศมหาฤทธิ์en_US
dc.contributor.authorSomrat Lertmahariten_US
dc.contributor.authorสิตมนัส สุวรรณฉายen_US
dc.contributor.authorSitamanus Suwanashineen_US
dc.contributor.authorกนกพรรณ กรรณสูตen_US
dc.contributor.authorKanokpan Kanasooten_US
dc.date.accessioned2011-08-03T04:00:38Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:17:22Z
dc.date.available2011-08-03T04:00:38Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:17:22Z
dc.date.issued2554-06en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 5,2(เม.ย.-มิ.ย.2554) : 224-232en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3252en_US
dc.description.abstractในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา โรคเบาหวานมีแนวโน้มในการเป็นปัญหาสำคัญขึ้นเรื่อยๆในประเทศไทย ปัจจุบันมีผลการศึกษาวิจัยในต่างประเทศระบุอย่างชัดเจนว่า มาตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงสูงลงได้ร้อยละ 31-58 แต่ในประเทศไทยยังขาดการประเมินในเรื่องนี้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการทดสอบประสิทธิผลของรูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบเข้มข้นสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็นการศึกษาในรูปแบบกึ่งการทดลอง(Quasi-experimental study) นำรูปแบบมาตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบเข้มข้นในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย ตลอด 24 สัปดาห์ ผู้เข้าร่วมการศึกษาเป็นคนที่มีภาวะน้ำหนักเกิน(ดัชนีมวลกายตั้งแต่ 25 กิโลกรัม/ตารางเมตร) โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มที่ได้รับมาตรการดังกล่าวจำนวน 41 คน และกลุ่มซึ่งได้รับบริการตามปกติจำนวน 61 คน แล้วเปรียบเทียบประสิทธิผลของแต่ละกลุ่มเมื่อสิ้นสุดการวิจัย จากการวิเคราะห์ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงตามดัชนีตัวชี้วัดด้านกายภาพและด้านชีวเคมี ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่าง ๒ กลุ่ม แต่เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบแยกในคนที่มีภาวะอ้วน(ดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30 กิโลกรัม/ตารางเมตร) พบว่าในกลุ่มที่ได้รับมาตรการมีการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักที่ลดลงแตกต่างกับกลุ่มที่ได้รับการบริการตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(95% CI = -1.976 – -0.019, p-value = 0.046) ทำให้เห็นได้ว่าโปรแกรมนี้อาจมีความเหมาะสมกับคนที่มีภาวะอ้วน อย่างไรก็ตามต้องมีการศึกษาติดตามในระยะยาวต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleประสิทธิผลของรูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบเข้มข้นสำหรับผู้ที่มีภาวะโรคเบาหวานชนิดที่ 2en_US
dc.title.alternativeEffectiveness of Intensive Behavioral Modification Program for Individual at Risk of Type 2 Diabetesen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeIn the past decade, Diabetes Mellitus tends to become more and more important problem in Thailand. Nowadays, research results clearly indicate that behavioral change strategies can decrease complications and death among Diabetes patients. Several studies in China, Finland and USA have reported that intensive behavioral modification program focusing on exercise and weight loss certainly decreases the risk of Diabetes in high risk group by 31-58 percent. Previous related researches in Thailand have found that giving knowledge alone have led to negative outcome of Diabetes patient care. This research aimed to test the effectiveness of intensive behavioral modification program for individual at risk of type 2 diabetes. This Quasi-experimental research is to study effectiveness of intensive behavioral modification model which focuses on diet and exercise for 24 weeks. Participants who are overweighed person (BMI > 25 kg/ m2) were divided into two groups. Forty-one participants attended the intensive model while 61 participants received standard care. Effectiveness of the groups was compared at the end of the study. From data analysis made through changes of both physical and biochemical indicators, there was no significant difference found between two groups but subgroup analysis in overweight group (BMI > 30 kg/m2) indicate that the experimental group significantly lost more weight than control group (95%CI= -1.976 - - 0.019, p-value = 0.046). This finding shows that the program is more suitable for overweight person. However, long term study is still needed.en_US
dc.subject.keywordDiabetesen_US
dc.subject.keywordเบาหวานen_US
.custom.citationสุวัฒน์ โคตรสมบัติ, วิฑูรย์ โล่ห์สุนทร, Suwat Kotsombutt, Vitool Lohsoonthorn, วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี, Wiroj Jiamjarasrangsi, สมรัตน์ เลิศมหาฤทธิ์, Somrat Lertmaharit, สิตมนัส สุวรรณฉาย, Sitamanus Suwanashine, กนกพรรณ กรรณสูต and Kanokpan Kanasoot. "ประสิทธิผลของรูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบเข้มข้นสำหรับผู้ที่มีภาวะโรคเบาหวานชนิดที่ 2." 2554. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3252">http://hdl.handle.net/11228/3252</a>.
.custom.total_download1268
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month13
.custom.downloaded_this_year35
.custom.downloaded_fiscal_year62

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v5n2 ...
Size: 258.3Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

Show simple item record