Show simple item record

รายงานสถานะสุขภาพคนไทย: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ ศ 2546

dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรen_US
dc.contributor.authorอารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนาen_US
dc.contributor.authorจุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์en_US
dc.contributor.authorจิตปราณี วาศวิทen_US
dc.contributor.authorสงวน ลือเกียรติบัณฑิตen_US
dc.contributor.authorจิราวรรณ บุญเพิ่มen_US
dc.date.accessioned2008-10-02T07:39:16Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-15T08:54:54Z
dc.date.available2008-10-02T07:39:16Zen_US
dc.date.available2557-04-15T08:54:54Z
dc.date.issued2549en_US
dc.identifier.citationวารสารวิชาการสาธารณสุข 15,4(2549) : 515-527en_US
dc.identifier.issn0858-4923en_US
dc.identifier.otherDMJ74en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/343en_US
dc.description.abstractในพ.ศ. 2546 สำนักงานสถิติแห่งชาติและสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศได้สร้างคำถามที่ใช้ประเมิณสถานะสุขภาพ 9 ข้อ เป็นคำถามที่ประเมิณสุขภาพกาย 4 มิติ ( การเคลื่อนไหว, การดูแลตนเอง, การทำกิจกรรมปกติ, การเจ็บป่วย ไม่สบาย) สุขภาพใจ 3 มิติ ( ความวิตกกังวล, การมีสมาธิจดจำ, การเข้าสังคม) และภาพรวมของสุขภาพ 2 คำถาม ( เปรียบเทียบกับปีที่แล้ว, กับคนอื่นที่คล้ายคลึงกัน ) ให้ชื่อว่า 9-THAI ( 9-item Thai Health status Assessment Instrument ) การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรายงานสถานะสุขภาพของคนไทย และการประเมินความตรงโดยใช้กลุ่มที่ทราบค่าอยู่ก่อนแล้วของ 9-THAI การประเมินสถานะสุขภาพของคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 37,202 คน จากข้อมุลในปี 2546 ซึ่งสุ่มจากทุกจังหวัด ทั้งในและนอกเขตเทศบาล โดยสุ่มตัวอย่างแบบเชิงชั้นสองขั้นตอน ( stratified two stage sampling) พบว่า ผู้ที่อาศัยอยู่ในภาคเหนือ, นอกเขตเทศบาล, มีรายได้อยู่ในกลุ่มยากจนที่สุด หรือมีบัตรทอง 30 บาท เป็นผู้ที่มีปัญหาสถานะสุขภาพ โดยมีร้อยละของปัญหาในด้านกายและใจ 7 มิติ สูงกว่า และมีคะแนนสุขภาพกายและใจ ต่ำกว่าผู้ที่อยู่ในภาคอื่น, ในเขตเทศบาล, มีรายได้ในกลุ่มที่รวยกว่าหรือมีสวัสดิการรักษาพยาบาลแบบอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อทดสอบโดยสถิติ chi-square, t-test ANOVA ตามความเหมาะสม ดังนั้น การกำหนดนโยบายทางสาธารณสุขควรให้ความสนใจกับกลุ่มดังกล่าวมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในผู้ที่มีภาวะสุขภาพทรุดลง ได้แก่ ผู้ที่ป่วย, เคยพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลหรือมีโรคเรื้อรัง มีร้อยละของปัญหาในด้านกายและใจ 7 มิติ สูงกว่า และมีคะแนนสุขภาพกายและใจ ต่ำกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( P < 0.001 ) เป็นไปตามที่ตั้งสมมติฐานไว้ จึงสนับสนุนความตรงของ 9-THAI ในการนำไปประยุกต์ใช้ต่อไปen_US
dc.format.extent223649 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศen_US
dc.rightsสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศen_US
dc.subjectสถานะสุขภาพen_US
dc.titleรายงานสถานะสุขภาพคนไทย: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ ศ 2546en_US
dc.typeArticleen_US
dc.subject.keywordการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ 2546en_US
dc.subject.keywordคะแนนสุขภาพกายen_US
dc.subject.keywordคะแนนสุขภาพใจen_US
.custom.citationวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร, อารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนา, จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์, จิตปราณี วาศวิท, สงวน ลือเกียรติบัณฑิต and จิราวรรณ บุญเพิ่ม. "รายงานสถานะสุขภาพคนไทย: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ ศ 2546." 2549. <a href="http://hdl.handle.net/11228/343">http://hdl.handle.net/11228/343</a>.
.custom.total_download1284
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month11
.custom.downloaded_this_year37
.custom.downloaded_fiscal_year61

Fulltext
Icon
Name: 2006_DMJ74_รายงาน ...
Size: 218.4Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record