Show simple item record

การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข : ความเป็นมา สถานการณ์และแนวโน้มในอนาคต

dc.contributor.authorจักรกฤษณ์ วังราษฎร์en_US
dc.contributor.authorJukkrit Wungrathen_EN
dc.date.accessioned2012-03-05T06:48:19Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:18:21Z
dc.date.available2012-03-05T06:48:19Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:18:21Z
dc.date.issued2554-12en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 5,4(ต.ค.-ธ.ค.2554) : 530-538en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3450en_US
dc.description.abstractรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 และ 2550 รวมถึงพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการกระจายอำนาจรัฐจากส่วนกลางไปยังท้องถิ่น เฉพาะการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น มีแผนดำเนินการถ่ายโอนสถานีอนามัยให้ อปท.ภายในปี 2553 แต่จนกระทั่งปัจจุบันซึ่งล่วงเลยมาแล้ว 10 ปี ความคืบหน้ายังไม่เป็นที่น่าพึงพอใจ และยังพบปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานอยู่มากพอสมควร ที่ผ่านมามีการถ่ายโอนสถานีอนามัยนำร่องไปแล้ว 28 แห่ง จากที่ได้มีการตั้งเป้าไว้ 35 แห่ง ซึ่งจากจำนวนที่ถ่ายโอนไปแล้วนั้นบางแห่งก็ประสบความสำเร็จ สามารถดำเนินการต่อไปได้ แต่บางแห่งก็พบปัญหาในการดำเนินงานมากมาย เช่น ความไม่ชัดเจนในนโยบาย แนวทางการดำเนินงาน และการประสานงานระหว่างพื้นที่ รวมถึงการส่งต่อและการส่งกลับ ทำให้บุคลากรสาธารณสุขเกิดความไม่มั่นใจในการทำงาน ดังนั้นเพื่อให้กระบวนการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข สามารถดำเนินต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์ของรัฐธรรมนูญนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นกระทรวงสาธารณสุขหรือกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนหน่วยงาน องค์กรอื่นๆ ต้องหันหน้าเข้าหากัน ร่วมมือ และหาทางออกที่ดีร่วมกันต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการกระจายอำนาจen_US
dc.subjectสถานีอนามัยen_US
dc.titleการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข : ความเป็นมา สถานการณ์และแนวโน้มในอนาคตen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThe Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2540 and B.E. 2550, including Determining Plans And Process Of Decentralization Act, B.E. 2542 is regarded as the starting point of the decentralization of the state to local administrative organizations, and determined the public health decentralization to local administrative organizations. These plans included the transfer of the health center (subdistrict level) to local administrative organizations within 2010. Until now, 10 years gone from the above mentioned, the progress is still unsatisfactory with a lot of problems and barriers during the operation. In the preceding time, 28 health centers had already been transferred from 35 health centers targeted. Among these, some of them were successful while some others faced many obstacles or restrictions in the implementation, such as uncertainty of the policy and guidelines, coordination between the organizations, and referring system. These made the health personnels feel insecure in their work. In order to run the process of the public health decentralization effectively and comply with the Constitution, the related agencies such as Ministry of Public Health, the Department of Local Government, including other organizations must solve the problem seriously together to find the best solution.en_US
dc.subject.keywordการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขen_US
dc.subject.keywordการถ่ายโอนen_US
.custom.citationจักรกฤษณ์ วังราษฎร์ and Jukkrit Wungrath. "การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข : ความเป็นมา สถานการณ์และแนวโน้มในอนาคต." 2554. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3450">http://hdl.handle.net/11228/3450</a>.
.custom.total_download5404
.custom.downloaded_today3
.custom.downloaded_this_month194
.custom.downloaded_this_year807
.custom.downloaded_fiscal_year1289

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v5n4 ...
Size: 217.3Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1326]
    บทความวิชาการ

Show simple item record