Show simple item record

Hearing Loss Caused by Noise Hazards among Sawmill Workers in a Factory in Nakhon Si Thammarat Province

dc.contributor.authorพีระ คงทองth_TH
dc.contributor.authorPeera Kongthongen_US
dc.coverage.spatialนครศรีธรรมราชth_TH
dc.date.accessioned2008-10-03T07:49:04Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:56:21Z
dc.date.available2008-10-03T07:49:04Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:56:21Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,2 (ก.ค.-ก.ย. 2550) (ฉบับเสริม1) : 1-9en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/367en_US
dc.description.abstractการศึกษาสถานการณ์การสูญเสียการได้ยินในโรงงานแปรรูปไม้ยางพารา 1 แห่ง ในตำบลร่อนพิบูลย์ อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ในช่วงเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน 2550 โดยการสำรวจสภาพแวดล้อม ระดับเสียงในพื้นที่การทำงาน และตรวจสมรรถภาพการได้ยินของคนงานที่สัมผัสเสียงดัง 46 คน เพื่อนำข้อมูลไปใช้เป็นแนวทางการปรับปรุงสภาพการทำงานต่อไป จากการศึกษาพบว่าระบบการจัดการเกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยไม่ได้มาตรฐาน ความดังของเสียงเกินกว่า 90 เดซิเบล (เอ) 7 จุด คิดเป็นร้อยละ 63.64 มีคนงานที่สูญเสียสมรรถภาพการได้ยินที่ความถี่เสียงพูด 500, 1,000 และ 2,000 เฮิร์ตซ์ (Hz) ที่ระดับเสียงเฉลี่ยเริ่มการได้ยินไม่เกิน 25 เดซิเบล (เอ) 26 คน (ร้อยละ 56.52), ที่ระดับเสียง 26-40 เดซิเบล (เอ) 19 คน (ร้อยละ 41.31) และระดับเสียง 41-55 เดซิเบล (เอ) 1 คน (ร้อยละ 2.17) ผู้ศึกษาเสนอวิธีการแก้ไขสถานการณ์โดยดำเนินโครงการอนุรักษ์การได้ยินขึ้น และจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานในโรงงาน ซึ่งจะทำให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความยั่งยืนต่อเนื่องth_TH
dc.format.extent178870 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.titleสถานการณ์การสูญเสียการได้ยินในโรงงานแปรรูปไม้ยางพารา จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeHearing Loss Caused by Noise Hazards among Sawmill Workers in a Factory in Nakhon Si Thammarat Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeThis descriptive study was conducted in a lumber mill in Nakhon Si Thammarat Province to identify noise hazards and hearing impairment among workers in places where working condition are noisy. Noise was found to be greater than 90 decibels (A) over seven areas (63.64%) in the workplace. Among the 46 workers who worked in noisy areas without ear protection, hearing losses of 500, 1,000 and 2,000 Hz at 25 decibels (A) were found in 26 workers (56.62%), at 26-40 decibels (A) in 19 (41.31%), and at 41-55 decibels (A) in 1 (2.17%). The investigator suggests that the Hearing Protection Program be introduced and a work manual be provided for the factories concerned in order to ensure the workers’ safetyen_US
dc.subject.keywordการสูญเสียการได้ยินth_TH
dc.subject.keywordโรงงานแปรรูปไม้ยางพาราth_TH
dc.subject.keywordโครงการอนุรักษ์การได้ยินth_TH
.custom.citationพีระ คงทอง and Peera Kongthong. "สถานการณ์การสูญเสียการได้ยินในโรงงานแปรรูปไม้ยางพารา จังหวัดนครศรีธรรมราช." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/367">http://hdl.handle.net/11228/367</a>.
.custom.total_download3240
.custom.downloaded_today3
.custom.downloaded_this_month73
.custom.downloaded_this_year304
.custom.downloaded_fiscal_year523

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v1n2 ...
Size: 179.1Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record