Show simple item record

Risk Factors Causing Persistence of Stress after Flood Disaster Stress in Ang Thong Province

dc.contributor.authorสุรพันธ์ วิชิตนาคen_US
dc.contributor.authorSurapun Wichitnaken_US
dc.contributor.authorสมถวิล สินธุประสิทธิ์en_US
dc.contributor.authorSomtawin Sintuprasiten_US
dc.contributor.authorปาจรีย์ สาระลุกen_US
dc.contributor.authorPajaree Saralooken_US
dc.contributor.authorจุฑามาศ ผดุงญาติen_US
dc.contributor.authorJutamad Padungyaten_US
dc.coverage.spatialอ่างทองen_US
dc.date.accessioned2008-10-03T07:57:47Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:56:44Z
dc.date.available2008-10-03T07:57:47Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:56:44Z
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1,2 (ก.ค.-ก.ย. 2550) (ฉบับเสริม1) : 182-187en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/380en_US
dc.description.abstractเหตุการณ์อุทกภัยทำให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อนจากความเสียหายของทรัพย์สินจำนวนมาก แม้ได้มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความช่วยเหลือ แต่ความรู้สึกสูญเสียของประชาชน ซึ่งยังเผชิญกับภาวะน้ำท่วมขังได้ก่อให้เกิดปัญหาความเครียดในประชากรบางกลุ่ม จากสถานการณ์ดังกล่าว คณะผู้วิจัยมีความประสงค์ศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการคงอยู่ของภาวะเครียดหลังประสบอุทกภัย และการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดที่ยังคงอยู่กับปัจจัยด้านสังคม ประชากร ภาวะสุขภาพ และปัจจัยด้านจิตสังคม วิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรตัวอย่างที่เป็นผู้ประสบอุทกภัยในเขตอำเภอป่าโมก ที่เคยผ่านการคัดกรองว่ามีภาวะเครียดช่วงน้ำท่วมเมื่อ พ.ศ. 2549 จำนวน 61 ราย โดยใช้แบบสอบถาม GHQ-12 plus-R. สถิติที่ใช้คือความถี่ ร้อยละ odds ratio (OR) และ การทดสอบไฆ-สแควร์ การศึกษาพบปัจจัยเสี่ยงที่มีผลและมีความสัมพันธ์ต่อการคงอยู่ของภาวะเครียดคือ อายุ >60 ปี และรายได้น้อยไม่พอใช้ ผลการศึกษาครั้งนี้ผู้รับผิดชอบงานด้านสุขภาพจิตสามารถนำไปใช้ค้นหาผู้ประสบอุทกภัยที่มีความเสี่ยงปัญหาสุขภาพจิต เพื่อให้การช่วยเหลือต่อไปen_US
dc.format.extent158215 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการคงอยู่ของภาวะเครียดหลังอุทกภัยในจังหวัดอ่างทองen_US
dc.title.alternativeRisk Factors Causing Persistence of Stress after Flood Disaster Stress in Ang Thong Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeFollowing a flood disaster in 2006, the victims suffered both physical and mental affliction because of the loss of their property and loved ones. Post-disaster stress persisted in some persons. We, therefore, conducted this study to determine what risk factors are related to the maintenance of postflood disaster stress on people in Pamoke district. We also studied the relationship between remainder stress and socio-demographic factors, health status and psychosocial factors. The subjects comprised 61 people who suffered stress from a flood in 2006 in Pamok district. General Health Questionnaire 12 Plus R (GHQ-12 Plus-R) was used for this study. The frequency, percentage, odds ratio (OR) and Chi-square test were used to analyze the data. The results showed that the risk factors for post-flood disaster stress were age over 60 years and lacking income.en_US
dc.subject.keywordสุขภาพจิตen_US
dc.subject.keywordภาวะเครียดen_US
dc.subject.keywordอุทกภัยen_US
dc.subject.keywordFlooding Disasteren_US
.custom.citationสุรพันธ์ วิชิตนาค, Surapun Wichitnak, สมถวิล สินธุประสิทธิ์, Somtawin Sintuprasit, ปาจรีย์ สาระลุก, Pajaree Saralook, จุฑามาศ ผดุงญาติ and Jutamad Padungyat. "ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการคงอยู่ของภาวะเครียดหลังอุทกภัยในจังหวัดอ่างทอง." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/380">http://hdl.handle.net/11228/380</a>.
.custom.total_download914
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month9
.custom.downloaded_this_year32
.custom.downloaded_fiscal_year47

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v1n2 ...
Size: 158.9Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record