Show simple item record

HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 : เดินหน้าสู่การควบคุมค่ายา ในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ

dc.contributor.editorพงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุขth_TH
dc.contributor.editorPongpisut Jongudomsuken_US
dc.date.accessioned2013-12-18T08:51:22Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:20:16Z
dc.date.available2013-12-18T08:51:22Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:20:16Z
dc.date.issued2555-10en_US
dc.identifier.citationHSRI Forum ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 ต.ค. 2555en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3921en_US
dc.description.abstractฉบับนี้เปิดประเด็นด้วยเรื่องใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพของประเทศ นั่นคือ ‘การใช้ยาที่สมเหตุผล’ เนื่องจากที่ผ่านมา ประเทศไทยใช้จ่ายค่ายารักษาโรค รวมกันปีละหลายแสนล้านบาท เช่น ในปี 2551 มูลค่ายานำเข้ารวมกันสูงถึง 2.7 แสนล้านบาท โดยเฉพาะค่ายาผู้ป่วยนอกในระบบสวัสดิการข้าราชการ มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี โดยใน ปี 2553 มีค่ายาสูงถึง 4.6 หมื่นล้านบาท กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ในฐานะผู้ดูแลงบประมาณรายจ่ายของประเทศ เล็งเห็น ว่าหากปล่อยให้สถานการณ์เป็นแบบนี้ต่อไปเรื่อยๆ จะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของระบบ สวัสดิการรักษาพยาบาลของประเทศ จึงได้จัดทำโครงการ ‘มาตรการส่งเสริมและกำกับการ ใช้ยาอย่างสมเหตุผล’ โดยขอความร่วมมือไปยังโรงพยาบาลของรัฐขนาดใหญ่ทั่วประเทศ จำนวน 34 แห่ง เพื่อให้เข้าร่วมโครงการและใช้มาตรการดังกล่าว โดยเริ่มตั้งแต่ช่วง กลางปี 2552 ที่ผ่านมา มาตรการสำคัญที่โรงพยาบาลนำร่องทั้ง 34 แห่งนำมาใช้ตามที่กรมบัญชีกลางเสนอก็คือ การเฝ้าระวังการใช้ยา ‘ต้นแบบ’ และยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ เนื่องจากที่ผ่านมาโรงพยาบาล ต่างๆ ใช้ยาต้นแบบและยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติจำนวนมาก ทำให้มูลค่ายาผู้ป่วยนอก เพิ่มสูงขึ้นทุกปี เป็นภาระต่อระบบการเงินการคลังของประเทศ ขณะเดียวกัน สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) เครือ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ได้ทำการศึกษาข้อมูลจากโรงพยาบาลนำร่องจำนวน 3 แห่งที่ ได้เข้าร่วมโครงการกับกรมบัญชีกลาง คือ รพ.ลำปาง รพ.ตำรวจ และ รพ.ศิริราช ตั้งแต่ ช่วงกลางปี 2553 จนถึงปัจจุบัน ฉบับนี้จึงขอหยิบยกประสบการณ์ของโรงพยาบาลทั้ง 3 แห่ง มานำเสนอ ให้เห็นรายละเอียดของการใช้มาตรการควบคุมค่าใช้จ่ายดังกล่าว กระทั่ง สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านยาผู้ป่วยนอกในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการได้ปีละ หลายร้อยล้านบาท โดยเฉพาะ รพ.ศิริราช สามารถลดค่ายาได้ถึง 700 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม แม้ว่า รพ.นำร่องทั้ง 3 แห่ง จะสามารถลดค่าใช้จ่ายด้านยาได้ แต่ก็มีเสียง สะท้อนถึงปัญหาและอุปสรรคต่างๆ จากผู้เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะแพทย์และผู้ป่วยที่มารับบริการ ซึ่งประเด็นปัญหาต่างๆ เหล่านี้คงจะต้องมีการนำมาแก้ไข เพื่อให้ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาล เดินหน้าต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนั้น HSRI Forum ฉบับนี้ยังตามติดเรื่อง ‘กลูโคซามีน’ มานำเสนอ จากข้อมูล หลักฐานที่ว่า กลูโคซามีนไม่มีผลในการรักษาผู้ป่วยโรคข้อเสื่อม โดยกระทรวงการคลังได้ทำ หนังสือสั่งยกเลิกการเบิกจ่ายยากลูโคซามีนแก่ผู้ป่วยในระบบสวัสดิการข้าราชการ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายนนี้เป็นต้นไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.format.extent5072755 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการth_TH
dc.subjectยาen_US
dc.titleHSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 : เดินหน้าสู่การควบคุมค่ายา ในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการen_US
dc.title.alternativeเดินหน้าสู่การควบคุมค่ายาในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการth_TH
dc.title.alternativeประสบการณ์จาก 3 รพ.นำร่องรุกมาตรการ ส่งเสริม-กำกับ การใช้ยาth_TH
dc.title.alternativeยกเลิกเบิกค่ายากลูโคซามีนในระบบสวัสดิการข้าราชการth_TH
dc.title.alternativeวิจัยจุดประเด็นอนามัยแม่และเด็กข้ามชาติในกทม.th_TH
dc.title.alternativeจัดมหกรรมสื่อทางเลือกสร้างสรรค์ สวรส. นำสื่อมวลชนลงพื้นที่เชียงใหม่ ดูงานหลังถ่ายโอนสถานีอนามัยth_TH
dc.typeArticleen_US
.custom.citation "HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 : เดินหน้าสู่การควบคุมค่ายา ในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3921">http://hdl.handle.net/11228/3921</a>.
.custom.total_download1082
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month18
.custom.downloaded_this_year62
.custom.downloaded_fiscal_year106

Fulltext
Icon
Name: hsri_forum_v1_n5_ ...
Size: 4.837Mb
Format: Unknown
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1334]
    บทความวิชาการ

Show simple item record