Show simple item record

Report of health literacy survey in sampled population

dc.contributor.authorมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. ศูนย์วิจัยen_US
dc.date.accessioned2013-12-19T03:09:05Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:31:13Z
dc.date.available2013-12-19T03:09:05Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:31:13Z
dc.date.issued2556-11en_US
dc.identifier.otherhs2079en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3931en_US
dc.description.abstract“Health Literacy” หมายถึง ความสามารถในการค้นหาหรือเข้าถึง สร้างความเข้าใจ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้านสุขภาพ ในประเทศไทยมีการแปลคำนี้ไว้ต่างกันไป เช่น “ความแตกฉานด้านสุขภาพ” หรือ “การรู้เท่าทันด้านสุขภาพ” หรือ “ความฉลาดทางสุขภาวะ” ดังนั้น ในความหมายที่ครอบคลุม Health Literacy จึงหมายถึง การที่บุคคลมีความสามารถในการเข้าถึงข่าวสารความรู้ด้านสุขภาพจากแหล่งความรู้ที่หลากหลาย มีความเข้าใจในเนื้อหาต่างๆ สามารถประเมินความน่าเชื่อถือและความเหมาะสมของเนื้อหากับตนเอง ใช้ความคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลในการให้ความสำคัญกับข่าวสารความรู้นั้นๆ ตลอดจนนำไปสู่การตัดสินใจนำมาลองปฏิบัติและประเมินผลการทดลองจนสามารถเกิดการใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยในรายงานฉบับนี้จะใช้คำว่า “ความแตกฉานด้านสุขภาพ” วิจัยหลายชิ้น พบว่า ผู้ที่มีระดับระดับความแตกฉานด้านสุขภาพต่ำ มีแนวโน้มที่จะเจ็บป่วยจนต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาล มีความสามารถในการป้องกันและดูแลสุขภาพน้อยกว่าผู้บุคคลที่มีระดับความแตกฉานด้านสุขภาพที่สูงกว่า ด้วยเหตุนี้ เครื่องมือประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพจึงมีความสำคัญต่อการพัฒนาระบบสุขภาพ เพราะช่วยให้เราทราบระดับความแตกฉานด้านสุขภาพของบุคคล กลุ่ม ชุมชน หรือประชากรที่ใหญ่ขึ้น ซึ่งเป็นข้อมูลที่สำคัญที่ใช้ประกอบการวินิจฉัยปัญหาด้านสุขภาพและการกำหนดแนวทางหรือวิธีการที่เป็นทางเลือกในการแก้ปัญหาสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ในปัจจุบันมีการวิจัยและพัฒนาเครื่องมือประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพกันอย่างกว้างขวาง เพื่อนำผลมาใช้พัฒนาการให้บริการทางการแพทย์ (คลินิก) โปรแกรมป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ และนโยบายสุขภาพในการกำหนดนโยบายเร่งด่วน เป็นต้น สำหรับโครงการพัฒนาเครื่องมือประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพได้ดำเนินการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพในกลุ่มตัวอย่างได้แก่ กลุ่มคน กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ครอบคลุม ผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน ไขมันในเลือดสูง) และกลุ่มคนพิการได้แก่ กลุ่มผู้พิการทางการเคลื่อนไหว กลุ่มผู้พิการด้านสายตา และกลุ่มผู้พิการทางการได้ยิน ในสี่จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ พิษณุโลก อุดรธานี ระยอง/ชลบุรี และนครศรีธรรมราช จากนั้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการจัดกลุ่มประโยคความเห็นของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์และสังเคราะห์ ประเด็นความเห็นและพัฒนาแบบสอบถามเบื้องต้น เพื่อนำไปสู่การพัฒนาแบบสอบถามสำหรับเก็บข้อมูลเพื่อทำการวิเคราะห์ psychometric ต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการสำรวจความแตกฉานด้านสุขภาพ (Health literacy) ในกลุ่มประชากรตัวอย่าง สำหรับใช้วิเคราะห์ Psychometric เพื่อตรวจสอบความถูกต้องen_US
dc.title.alternativeReport of health literacy survey in sampled populationen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.identifier.callnoW30 ก169 2556en_US
dc.identifier.contactno55-053en_US
dc.subject.keywordความแตกฉานด้านสุขภาพen_US
dc.subject.keywordHealth Literacyen_US
dc.subject.keywordการดูแลสุขภาพen_US
dc.subject.keywordการรู้เท่าทันด้านสุขภาพen_US
dc.subject.keywordความฉลาดทางสุขภาวะen_US
.custom.citationมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. ศูนย์วิจัย. "การสำรวจความแตกฉานด้านสุขภาพ (Health literacy) ในกลุ่มประชากรตัวอย่าง สำหรับใช้วิเคราะห์ Psychometric เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3931">http://hdl.handle.net/11228/3931</a>.
.custom.total_download4041
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year7
.custom.downloaded_fiscal_year14

Fulltext
Icon
Name: hs2079.pdf
Size: 746.8Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record